Uploaded with ImageShack.us

วันอังคาร, พฤศจิกายน 30, 2553

ข้อคำถาม มัธยมศึกษาชั้นปีที่ 4/2


76 ความคิดเห็น:

  1. ความคิดเห็นนี้ถูกผู้เขียนลบ

    ตอบลบ
  2. ความคิดเห็นนี้ถูกผู้เขียนลบ

    ตอบลบ
  3. "รสหวานอยู่ที่ปลายลิ้น รสเค็มอยู่ที่ปลายและด้านข้างของลิ้น รสเปรี้ยวอยู่ด้านข้างของลิ้น และรสขมอยู่ที่โคนลิ้น" แท้จริงแล้วระบบในการรับรู้รสชาตินั้นไม่ได้เป็นอย่างที่กล่าวไว้เลย ต่อมรับรสหนึ่งต่อมสามารถรับรู้รสชาติได้เกือบทุกรส ไม่ได้แบ่งแยกอย่างเด็ดขาดว่าต่อมนี้รับรสหวานไม่รับรสเปรี้ยว หรือต่อมนั้นรับรสเค็มไม่รับรสขม ลิ้นสามารถรับรู้รสได้จากจากเซลล์รับรสซึ่งเรียงตัวอยู่ในปุ่มรับรส (taste bud) โดยปุ่มรับรสส่วนใหญ่บนลิ้นจะอยู่ภายในบริเวณพาปิลลี (papillae) ซึ่งเป็นร่องเป็นแนวเล็ก ๆบนลิ้น

    นภสินธุ์ ประเสริฐธนะชัย ม.4/2 เลขที่ 51

    ตอบลบ
  4. สุเมธ นภาพิทักษ์กุล ม.4/2 เลขที่ 12 (sumate123)
    "แท้จริงแล้วปุ่มรับรสทุกบริเวณของลิ้น สามารถรับรสต่างๆ ได้ทุกรส ลิ้นของมนุษย์สามารถรับรสต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นรสพื้นฐานทั้งสี่ ได้แก่ เค็ม เปรี้ยว หวาน ขม หรืออาจรวมไปถึงรสอร่อย จากเซลล์รับรสซึ่งเรียงตัวอยู่ในปุ่มรับรส (taste bud) โดยปุ่มรับรสส่วนใหญ่บนลิ้นจะอยู่ภายในบริเวณพาปิลลี (papillae) ซึ่งเป็นร่องเป็นแนวเล็ก ๆ บนลิ้นที่ทำให้ผิวลิ้นดูเหมือนผ้ากำมะหยี่ ปุ่มรับรสนั้นเป็นโครงสร้างคล้ายหัวหอมใหญ่ มีเซลล์รับรสอยู่ภายในประมาณ 50 ถึง 100 เซลล์ โดยที่แต่ละเซลล์จะมีส่วนที่ยื่นขึ้นมาคล้ายกับนิ้วมือที่เรียกว่า ไมโครวิลไล (microvilli) ซึ่งจะยื่นออกจากช่องเปิดบริเวณด้านบนของปุ่มรับรสที่เรียกว่า รูรับรส (taste pore) สารเคมีต่างๆ จากอาหารจะละลายในน้ำลายและผ่านรูรับรสมาสัมผัสกับเซลล์รับรส สารเคมีจากอาหารจะทำปฏิกิริยากับโปรตีนบนผิวของ เซลล์ที่เรียกว่า รีเซปเตอร์รับรส (taste receptor) หรือทำปฏิกิริยากับโปรตีนรูปร่างคล้ายช่องที่เรียกว่า ช่องไอออน (ion channel)ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นจะทำให้เกิด การเปลี่ยนแปลงของกระแสไฟฟ้าภายในเซลล์รับรส และกระตุ้นเซลล์ให้ส่งสัญญาณเคมีต่อไปยังสมอง กระแสสัญญาณจะถูกตีความร่วมไปกับกลิ่นและสัมผัสอื่นๆ ให้ออกมาเป็นรสชาติ"

    ตอบลบ
  5. ความคิดเห็นนี้ถูกผู้เขียนลบ

    ตอบลบ
  6. ลิ้นที่แท้จริงนั้น. สามารถรับรสต่างๆ โดยไม่ขึ้นอยู่กับบริเวณ.   เนื่องจาก. มีปุ่มรับรสจำนวนมากโดยอาศัย taste receptor หรือทำปฏิกิริยา กับ โปรตีน(ion exchang) ทำให้รสชาติต่างๆนั้น ส่งผ่านเข้าสู่สมองได้
    นาย พงค์กรณ ชาครประดิษฐ์. ม๔/๒ เลขที่ ๓๐

    ตอบลบ
  7. "การรับรสที่เเท้จริงของลิ้นนั้นสามารถรับรสชาติได้ทุกรส เนื่องจาก เซลล์รับรสที่เรียงตัวอยู่ใน taste bud มีเซลล์รับรสอยู่ภายในประมาณ 50 ถึง 100 เซลล์ โดยที่แต่ละเซลล์จะมีส่วนที่ยื่นขึ้นมาคล้ายกับนิ้วมือที่เรียกว่า microvilli สารเคมีจากอาหารจะทำปฏิกิริยากับโปรตีนบนผิวของ เซลล์รับรสที่เรียกว่า taste receptor หรือทำปฏิกิริยากับ ion channel ส่งสัญญาณเคมีไปยังสมองทำให้ออกมาเป็นรสชาติ

    สุภัทร นภาพิทักษ์กุล ม.4/2 เลขที่ 4

    ตอบลบ
  8. ความคิดเห็นนี้ถูกผู้เขียนลบ

    ตอบลบ
  9. ลิ้นสามารถรับรสต่างๆได้ทุกรสไม่ว่าจะเป็นรสเค็ม รสเปรี้ยว รสหวานหรือรสอร่อย โดยไม่ขึ้นอยู่กับบริเวณ จากเซลล์รับรสซึ่งเรียงตัวอยู่ในปุ่มรับรส (taste bud) โดยปุ่มรับรสส่วนใหญ่บนลิ้นจะอยู่ภายในบริเวณพาปิลลี (papillae) โดยมีประมาณ 50-100เซลล์และเมื่อเรารับประทานอาหารเข้าไปสารเคมีจากอาหารที่เรารับประทานเข้าไปจะไปทำปฏิกิริยากับโปรตีนซึ่งลักษณะคล้ายช่อง ที่เรียกว่า ช่องไอออน (ion channel )ซึ่งจะมีการทำปฏิกิริยาโดยเปลี่ยนแปลงกระแสไฟฟ้าในเซลล์รับรส แล้วส่งไปยังสมองของเรา ทำให้เรานั้นได้กลิ่นและรสชาติได้ครับ

    ชื่อ นาย เมธี สถิรมงคลกุล ม.4/2 เลขที่ 42

    ตอบลบ
  10. ความคิดเห็นนี้ถูกผู้เขียนลบ

    ตอบลบ
  11. รสทั้งสี่ คือ เค็ม เปรี้ยว หวาน ขม และอาจรวมถึงรสอุมามินั้น เกิดจากการที่สมองตีความปฏิกิริยาทางเคมีต่างๆ ในเซลล์รับรสของปุ่มรับรส โดยมีเซลล์รับรสอยู่ภายในประมาณ 50 ถึง 100 เซลล์ โดยที่แต่ละเซลล์จะมีส่วนที่ยื่นขึ้นมาคล้ายกับนิ้วมือที่เรียกว่า ไมโครวิลไล (microvilli) ซึ่งจะยื่นออกจากช่องเปิดบริเวณด้านบนของปุ่มรับรสที่เรียกว่า รูรับรส (taste pore) สารเคมีต่างๆ จากอาหารจะละลายในนํ้าลายและผ่านรูรับรสมาสัมผัสกับเซลล์รับรส สารเคมีจากอาหารจะทำ ปฏิกิริยากับโปรตีนบนผิวของเซลล์ที่เรียกว่า รีเซปเตอร์รับรส (taste receptor) หรือทำปฏิกิริยากับโปรตีนรูปร่างคล้ายช่องที่เรียกว่า ช่องไอออน (ion channel) ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นจะทำ ให้เกิดการเปลี่ยนแปลง
    ของกระแสไฟฟ้าภายในเซลล์รับรส และกระตุ้นเซลล์ให้ส่งสัญญาณเคมีต่อไปยังสมองครับ

    ชื่อ นายธนพงษ์ สิทธิสุขไพศาล ม.4/2 เลขที่ 20

    ตอบลบ
  12. เป็นอวัยวะสำหรับการรับรสซึ่งเป็นสิ่งที่สำคัญมากสำหรับการรับประทานอาหารเพราะว่าหากไม่มีรสชาติใดขณะกินอาหารเลยจะทำให้เราไม่เกิดความอยากอาหารซึ่งส่งผลให้สามารถกินอาหารได้น้อยลงหรือไม่เพพียงพอ เเละการรับรสของลิ้นที่เเท้จริงเป็นดังนี้ คือที่ลิ้นจะมีตุ่มรับรสซึ่งมีอยู่4ชนิดด้วยกันคือ 1.ตุ่มรับรสเค็ม 2.ตุ่มรับรสหวาน 3ตุ่มรับรสขม เเละ4.ตุ่มรับรสเปรี้ยว ซึ่งอยู่ตามบริเวณต่างของลิ้น ซึ่งการรู็รสเป็นความรู้สึกที่เกิดได้โดยปฏิกริยาเคมีคือเมื่ออาหารเข้าสู่ปากเเละทำปฏิกริยากับน้ำย่อยเเละน้ำลายในปากทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางเคมีซึ่งจะไปกระตึ้นให้ตุ่มรับรสเกิดความรู้สึกถึงรสชาตินั้น(ชนิดของปฏิกริยาเคมีที่เกิดขึ้น)เเละส่งความรู็สึกผ่านเส้นประสาทสมอง3เส้นเข้าสู่ระบบประสาทส่วนกลางเพื่อแปลว่าเป็นรสอะไรต่อไป ซึ่งแต่ละรสเกิดจากคุณสมบัติของอาหารแต่ละชนิดที่เข้าไปในปากคือ
    1. รสหวาน(sweet) เกิดจากสารเคมีหลายชนิด ได้แก่ น้ำตาล แอลกอฮอล์ กรดอมิโน และเกลืออนินทรีย์ของตะกั่ว
    2. รสเค็ม(salty) เกิดจากอณูของเกลือ
    3. รสขม(bitter) เกิดจากสารสองชนิดโดยเฉพาะ คือ
    3.1 สารอินทรีย์ที่มีโมเลกุล
    3.2 พวกอัลคาลอยด์ ซึ่งได้แก่ยาหลายชนิด เช่น ควินิน กาเฟอีน สตริกนิน เป็นต้น
    4. รสเปรี้ยว(sour) เกิดจากความเป็นกรด
    พลาธิป ปิยะนันทสมดี ม.4/2 เลขที่28

    ตอบลบ
  13. ปุ่มรับรสทุกบริเวณของลิ้น สามารถรับรสต่างๆ ได้ทุกรส ลิ้นของมนุษย์สามารถรับรสต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นรสพื้นฐานทั้งสี่ ได้แก่ เค็ม เปรี้ยว หวาน ขม หรืออาจรวมไปถึงรสอร่อย จากเซลล์รับรสซึ่งเรียงตัวอยู่ในปุ่มรับรส (taste bud) โดยปุ่มรับรสส่วนใหญ่บนลิ้นจะอยู่ภายในบริเวณพาปิลลี (papillae) ซึ่งเป็นร่องเป็นแนวเล็ก ๆ บนลิ้นที่ทำให้ผิวลิ้นดูเหมือนผ้ากำมะหยี่ ปุ่มรับรสนั้นเป็นโครงสร้างคล้ายหัวหอมใหญ่ มีเซลล์รับรสอยู่ภายในประมาณ 50 ถึง 100 เซลล์ โดยที่แต่ละเซลล์จะมีส่วนที่ยื่นขึ้นมาคล้ายกับนิ้วมือที่เรียกว่า ไมโครวิลไล (microvilli) ซึ่งจะยื่นออกจากช่องเปิดบริเวณด้านบนของปุ่มรับรสที่เรียกว่า รูรับรส (taste pore) สารเคมีต่างๆ จากอาหารจะละลายในน้ำลายและผ่านรูรับรสมาสัมผัสกับเซลล์รับรส สารเคมีจากอาหารจะทำปฏิกิริยากับโปรตีนบนผิวของ เซลล์ที่เรียกว่า รีเซปเตอร์รับรส (taste receptor) หรือทำปฏิกิริยากับโปรตีนรูปร่างคล้ายช่องที่เรียกว่า ช่องไอออน (ion channel)ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นจะทำให้เกิด การเปลี่ยนแปลงของกระแสไฟฟ้าภายในเซลล์รับรส และกระตุ้นเซลล์ให้ส่งสัญญาณเคมีต่อไปยังสมอง กระแสสัญญาณจะถูกตีความร่วมไปกับกลิ่นและสัมผัสอื่นๆ ให้ออกมาเป็นรสชาติ
    นายโชคชัย วรสุข ม.4/2 เลขที่31

    ตอบลบ
  14. จากที่ผมได้ศึกษาบทความข้างต้นในเว็บสามารถสรุปได้ว่า
    การรับรสที่แท้จริงนั้น รับรสชาติได้ทุกรส เพราะ บนลิ้นของเรานั้นจะมี เซลล์รับรสอยู่ประมาณ50-100เซลล์ และจะมี รูรับรสอยู่บนลิ้น ซึ่งเมื่อเรารับประทานอาหารเข้าไป สารเคมีจากอาหารที่เรารับประทานเข้าไปจะละลายในน้ำลายของเราแล้วผ่านรูรับรส เข้าไปยังเซลล์รับรส เพื่อไปทำปฏิกิริยากับโปรตีนซึ่งลักษณะคล้ายช่องที่เรียกว่าช่องไอออน (ion channel ) ซึ่งจะมีการทำปฏิกิริยาโดย เปลี่ยนแปลงกระแสไฟฟ้าในเซลล์รับรส แล้วส่งไปยังสมองของเรา ทำให้เรานั้นได้กลิ่นและรสชาตินั่นเองซึ่งมนุษย์สามารถรับรู้รสได้4รสคือ
    1.รสหวาน(sweet)
    2.รสเค็ม(salty)
    3.รส ขม(bitter)
    4.รสเปรี้ยว(sour)

    พรภวิษย์ ประทีปปรีชาพล ม.4/2 เลขที่49

    ตอบลบ
  15. การรับรสที่แท้จริงนั้นไม่ได้แบ่งพื้นที่อย่างแน่นอน แต่ขึ้นอยู่กับปุ่มรับรส ปุ่มรับรสส่วนใหญ่บนลิ้นจะ อยู่ภายในบริเวณพาปิลลี ซึ่งพาปิลลี่อยู่บริเวณด้านหน้าลิ้น ด้านข้างลิ้น อาจเป็นเหตุผลให้เกิดความเข้าใจเรื่องการรับรสผิด เพราะปุ่มรับรสไม่ได้อยู่บนลิ้นทุกบริเวณเท่ากัน บริเวนที่มีปุ่มรับรสมากก็มีประสิทธิภาพในการรับรสมากว่า โดยที่ปุ่มรับรสไม่ได้ถูกสร้างเพื่อรับรสใดรสหนึ่งเฉพาะ ทำงานโดยสารเคมีต่างๆ จากอาหารจะละลายในนํ้าลายและผ่านรูรับรสมาสัมผัสกับเซลล์รับ
    รส สารเคมีจากอาหารจะทำ ปฏิกิริยากับโปรตีนบนผิวของเซลล์ที่เรียกว่า รีเซปเตอร์รับรส (taste receptor) หรือทำ
    ปฏิกิริยากับโปรตีนรูปร่างคล้ายช่องที่เรียกว่า ช่องไอออน (ion channel) ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นจะทำ ให้เกิดการเปลี่ยนแปลงของกระแสไฟฟ้าภายในเซลล์รับรส และกระตุ้นเซลล์ให้ส่งสัญญาณเคมีต่อไปยังสมอง
    สมองจะตีความปฏิกิริยาทางเคมีต่างๆ ในเซลล์รับรสของปุ่มรับรส
    by นาย ไชยพัฒน์ เทพารักษ์ ม.4/2 เลขที่ 39

    ตอบลบ
  16. จากที่ผมได้อ่านบทความที่มีในเว็บนะครับ พอจะสรุปได้ว่า การรับรส ด้านบนของลิ้นเท่านั้นที่รับรสได้ ส่วนด้านล่างของลิ้นไม่สามารถรับรสได้ ทั้งนี้เพราะด้านบนของลิ้นเท่านั้นที่มีปุ่มเล็กๆ ที่เรียกว่าพาพิลลา(papilla) จำนวนมาก และภายในปุ่มเหล่านี้จะมีตุ่มรับรส(taste bud) หลายตุ่ม ตุ่มรับรสแต่ละตุ่มจะรับรสได้เพียงรสเดียว ภายในตุ่มรับรสมีเซลล์รับรส(gustatory cell)หลายเซลล์อัดกันแน่นอยู่เป็นกลุ่มๆโดยมีปลายเดนไดรต์ของเส้นประสาทสมองคู่ที่ 7 และ 9 มาสัมผัสอยู่เพื่อนำกระแสประสาทไปแปลผลที่ศูนย์การรับรสมนซีรีบรัม โดยปลาย 2/3ของลิ้นจะรับรสและถูกส่งไปกับเส้นประสาทสมองคู่ที่ 7 ส่วนโคน 1/3 ของลิ้นจะรับรสและถูกส่งไปกับเส้นประสาทสมองคู่ที่ 9
    และการที่ลิ้นสามารถรับรสต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นรสพื้นฐานทั้งสี่ คือ เค็ม เปรี้ยว หวาน ขม และอาจรวมถึงรสอุมามิด้วยนั้นเกิดจากการที่สมองตีความปฏิกิริยาทางเคมีต่างๆ ในเซลล์รับรสของปุ่มรับรส กระบวนการทางชีวเคมีทั้งห้าที่นำ ไปสู่รสแต่ละรสนั้นแม้ว่าในความเป็นจริงแล้วเซลล์รับรสแต่ละเซลล์นั้นไม่ได้มีไว้เพียงเพื่อให้ตอบสนองต่อสิ่งเร้ารสใดรสหนึ่งเป็นการเฉพาะ
    นาย วัฒนชัย ใจแปง ม.4/2 เลขที่41

    ตอบลบ
  17. การรู้รสเป็นความรู้สึกที่เกิดได้โดยปฎิกริยาทางเคมี คือ เมื่ออาหารเข้าสู่ปาก อาหารก็จะทำปฎิกริยากับน้ำย่อยและน้ำลายในปาก
    เกิดการเปลี่ยนแปลงทางเคมี ซึ่งกระตุ้นให้ตุ่มรับรสที่คิยรับการเปลี่ยนแปลงทางเคมี รับรู้ถึงรสชาติของอาหาร
    แล้วส่งความรู้สึกผ่านเส้นประสาทสมองสามเส้นเข้าสู่ระบบประสาทส่วนกลาง
    เพื่อแปลความหมายที่สมองว่าเป็นรสอะไร และแปลความหมายว่าร้อนหรือเย็นได้ด้วย
    มนุษย์สามารถแยกการรู้รสต่างๆ ได้อย่างง่ายๆ 4 รส ด้วยกันคือ
    1. รสหวาน(sweet) เกิดจากสารเคมีหลายชนิด ได้แก่ น้ำตาล แอลกอฮอล์ กรดอมิโน และเกลืออนินทรีย์ของตะกั่ว
    2. รสเค็ม(salty) เกิดจากอณูของเกลือ
    3. รสขม(bitter) เกิดจากสารสองชนิดโดยเฉพาะ คือ
    3.1 สารอินทรีย์ที่มีโมเลกุล
    3.2 พวกอัลคาลอยด์ ซึ่งได้แก่ยาหลายชนิด เช่น ควินิน กาเฟอีน สตริกนิน เป็นต้น
    4. รสเปรี้ยว(sour) เกิดจากความเป็นกรด
    วิธวินท์ วิรุฬห์เลิศ ม.4/2 เลขที่ 34

    ตอบลบ
  18. ต่อม รับรสหนึ่งต่อมสามารถรับรู้รสชาติได้เกือบทุกรส ไม่ได้แบ่งแยกอย่างเด็ดขาดว่าต่อมนี้รับรสหวานไม่รับรสเปรี้ยว หรือต่อมนั้นรับรสเค็มไม่รับรสขม
    ลิ้นเป็นบริเวณที่มีต่อมรับรสอยู่มากที่สุด ต่อมรับรสบนลิ้นจะรวมกลุ่มฝังตัวอยู่ภายในปุ่มรับรส
    ปุ่มรับรส 1 ปุ่ม มีต่อมรับรสตั้งแต่ 30-500 ต่อม ต่อมรับรสมีลักษณะคล้ายหัวหอมประกอบด้วยเซลล์รับรส (taste cell) 50-100 เซลล์ โดยเรียงตัวกันคล้ายเวลานิ้วมือที่งุ้มเข้าหากัน ยืดส่วนปลายที่มีลักษณะคล้ายขน (microvilli) ออกเพื่อคอยสัมผัสกับสารเคมีในอาหาร เซลล์รับรสหนึ่งเซลล์สามารถรับรสชาติได้หลายรสพร้อมกันแต่ระดับการตอบ สนองอาจต่างกันเล็กน้อย

    นาย สุปิยะ ในอุดมธรรม ม.4/2 เลขที่50

    ตอบลบ
  19. ในลิ้นจะมีต่อมรับรส(taste bud)กระจายตัวอยู่โดยในต่อมรับรสนั้นจะมีปุ่มรับรสอยู่โดยที่ต่อมรับรสหวานจะอยู่ที่บริเวณปลายลิ้น ส่วนต่อมที่รับรสเค็มนั้นจะอยู่ที่บริเวณปลายและด้านข้างของลิ้น ส่วนต่อมรับรสเปรี้ยวจะอยู่ที่บริเวณด้านข้างของลิ้น และต่อมรับรสขมจะอยู่ที่บริเวณโคนลิ้น

    นายธีรภัทร์ นันท์ดี ม.4/2 เลขที่ 29

    ตอบลบ
  20. ใครที่ บอกว่า 4 รส นะผิดนะ มันรับได้อีกรส
    หามาว่ารสอะไร

    ตอบลบ
  21. ลิ้นจะสามารถรับรสต่างๆได้จากบริเวณใดก็ตามของลิ้นที่มีปุ่มรับรส โดยปุ่มรับรสของลิ้นจะอยู่ในบริเวณพาปิลลีซึ่งเป็นร่องแนวเล็กๆบนลิ้น โดยพาปิลลีพวกที่มีปุ่มรับรส หรือที่เรียกว่าแบบฟังจิฟอร์มนั้น จะพบมากบริเวณลิ้นด้านหน้า บริเวณด้านในของลิ้นจะพบพาปิลลีขนาดใหญ่ประมาณ 12อัน พาปิลลีพวกนี้มีปุ่มรับรสและเรียกกันว่า พาปิลลีแบบเซอร์คัมวาลเลต นอกจากนี้เรายังพบปุ่มรับรสได้อีกตามบริเวณพาปิลลีแบบฟอลลิเอต ซึ่งเป็นแนวร่องขนาดเล็กอยู่บริเวณทั้งสองข้างของลิ้นด้านใน ซึ่งสามารถรับรสได้คือ รสเค็ม (saltiness) รสเปรี้ยว (sourness) รสหวาน (sweetness)รสขม (bitterness) และ รสอุมามิ (umami) หรือรสปะแล่ม รสนี้เป็นรสของสารกลูตาเมต (glutamate) หนึ่งในกรดอะมิโน 20 ตัวที่เป็นองค์ประกอบของโปรตีนในเนื้อ ปลา และถั่ว คนไทยรู้จักสารกลูตาเมตนี้เป็นอย่างดีจากการที่มันเป็นองค์ประกอบหลักของสารช่วยเพิ่มรสชาติของอาหาร ดังเช่น ผงชูรส

    นายอานันท์ วงศ์วัฒนานนท์ ม.4/2 เลขที่ 16

    ตอบลบ
  22. ความคิดเห็นนี้ถูกผู้เขียนลบ

    ตอบลบ
  23. การรู้รสเป็นความรู้สึกที่เกิดได้โดยปฎิกริยาทางเคมี คือ เมื่ออาหารเข้าสู่ปาก อาหารก็จะทำปฎิกิริยากับน้ำย่อยและน้ำลายในปาก เกิดการเปลี่ยนแปลงทางเคมี ซึ่งกระตุ้นให้ตุ่มรับรส (taste buds)ที่รับการเปลี่ยนแปลงทางเคมี รับรู้ถึงรสชาติของอาหาร แล้วส่งความรู้สึกผ่านเส้นประสาทสมองสามเส้นเข้าสู่ระบบประสาทส่วนกลาง เพื่อแปลความหมายที่สมองว่าเป็นรสอะไร และยังแปลความหมายว่าร้อนหรือเย็นได้อีกด้วย

    นอกจากนี้มนุษย์ยังสามารถแยกการรู้รสได้อย่างง่าย ๆ 5 รสด้วยกันคือ
    1. รสหวาน (sweetness)
    2. รสเค็ม (saltness)
    3. รสขม (bitterness)
    4. รสเปรี้ยว (sourness)
    5. รสอุมามิหรือรสปะแล่ม (umami เป็นรสชาติของกลูตาเมตอิสระ หนึ่งในกรดอะมิโน) เช่น ผงชูรส

    วงศกร จิระชัยโสภณ ม.4/2 เลขที่ 22

    ตอบลบ
  24. ลิ้นของเรามีตุ๋มรับรสอยู่ 5 รส ด้วยกันคือ
    - เปรี้ยว
    - หวาน
    - เด็ม
    - เผ็ด
    - ขม

    นายโชติพัฒน์ ทัพพ์เศรษฐี ม.4/2 เลขที่ 21

    ตอบลบ
  25. ความคิดเห็นนี้ถูกผู้เขียนลบ

    ตอบลบ
  26. ในความเป็นจริงแล้ว รสต่างๆ ทุกรสนั้นสามารถที่จะบอกได้จากบริเวณใดก็ตามของลิ้นที่มีปุ่มรับรสอยู่

    จนถึงในขณะนี้ ยังไม่พบหลักฐานใดเลยที่บอกว่า มีการแบ่งแยกอย่างชัดเจนของระดับความไวในการรับรสต่างๆ บนลิ้น ถึงแม้ว่าจะพบความแตกต่างอยู่บ้างระหว่างลิ้นและเพดานปากโดย

    เซลล์รับรสนั้นจะเรียงตัวอยู่ในปุ่มรับรส ซึ่งพบมากบนลิ้นและเพดานอ่อนในช่องปากซึ่งปัจุบันนี้มีการศึกษาค้นคว้าจิวัย แล้ว่ามีรสต่างๆว่าลิ้นสามารถรับรสได้ไม่ว่าจะเป็นรสพื้นฐานทั้งสี่ คือ เค็ม เปรี้ยว หวาน ขม และอาจรวมถึงรสอุมามิด้วย

    ตอบลบ
  27. ไม่ระบุชื่อ1 ธันวาคม 2553 เวลา 06:09

    ยังมีอีกรสครับ รสช็อกโกแลต

    ตอบลบ
  28. เพี่มเติมอีกนิด
    จากเดิม
    ลิ้นที่แท้จริงนั้น. สามารถรับรสต่างๆ โดยไม่ขึ้นอยู่กับบริเวณ. เนื่องจาก. มีปุ่มรับรสจำนวนมากโดยอาศัย taste receptor หรือทำปฏิกิริยา กับ โปรตีน(ion exchang) ทำให้รสชาติต่างๆนั้น ส่งผ่านเข้าสู่สมองได้

    เพี่มเติม
    รสชาติ ที่ ลิ้นรับได้นั้น ใม่ได้มีแค่ 4 รส แต่ยังมี รส อุมามิ หรือที่เรียกว่ารสกลมกล่อมครั้บ
    นาย พงค์กรณ ชาครประดิษฐ์. ม๔/๒ เลขที่ ๓๐

    ตอบลบ
  29. การรับรสที่แท้จริงนั้น รับรสชาติได้ทุกรส เพราะ บนลิ้นของเรานั้นจะมี เซลล์รับรสอยู่ประมาณ50-100เซลล์ และจะมี รูรับรสอยู่บนลิ้น ซึ่งเมื่อเรารับประทานอาหารเข้าไป สารเคมีจากอาหารที่เรารับประทานเข้าไปจะละลายในน้ำลายของเราแล้วผ่านรูรับรสเข้าไปยังเซลล์รับรส เพื่อไปทำปฏิกิริยากับโปรตีนซึ่งลักษณะคล้ายช่อง ที่เรียกว่า ช่องไอออน (ion channel )ซึ่งจะมีการทำปฏิกิริยาโดย เปลี่ยนแปลงกระแสไฟฟ้าในเซลล์รับรส แล้วส่งไปยังสมองของเรา ทำให้เรานั้นได้กลิ่นและรสชาตินั่นเองครับ

    ซึ่งรสชาติที่เราได้รับทั้งหมด มี 5 รส ครับ ไม่ใช่ 4 รสนะครับ
    1.รสหวาน
    2.รสเค็ม
    3.รสเปรี้ยว
    4.รสขม
    และที่ขาดไม่ได้ อย่าลืมคือ 5. รสอุมามิ ( อุมามิ แปลว่า อร่อย กลมกล่อม )

    ครับผม

    ชื่อ นาย โชคชัย ธีระจันทเศรษฐ ม.4/2 เลขที่ 5

    ตอบลบ
  30. โดยทั่วไปแล้ว นักวิทยาศาสตร์มักจะจำ แนกความสามารถในการรับรู้รสออกเป็นสี่ลักษณะ คือ รสเค็ม รสเปรี้ยว รสหวาน และรสขม อย่างไรก็ตาม ยังมีอีกรสหนึ่งอยู่ด้วย เรียก รสอุมามิ หรือรสปะแล่ม รสนี้เป็นรสของสารกลูตาเมต หนึ่งในกรดอะมิโน 20 ตัวที่เป็นองค์ประกอบของโปรตีนในเนื้อ ปลา และถั่ว
    รสต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นรสพื้นฐานทั้งสี่ คือ เค็ม เปรี้ยว หวาน ขม และอาจรวมถึงรสอุมามิด้วยนั้น จะเกิดจากการที่สมองตีความปฏิกิริยาทางเคมีต่างๆ ในเซลล์รับรสของปุ่มรับรส
    ปุ่มรับรสส่วนใหญ่บนลิ้นจะอยู่ภายในบริเวณพาปิลลีกซึ่งเป็นร่องเป็นแนวเล็กๆ บนลิ้นที่ทำ ให้ผิวลิ้นดูเหมือนกับผ้ากำ มะหยี่ซึ่งปุ่มรับรสนั้นเป็นโครงสร้างคล้ายหัวหอมใหญ่ มีเซลล์รับรสอยู่ภายในประมาณ 50 ถึง 100 เซลล์

    นายศุภธนา อุดมกิจโอฬาร ม.4/2 เลขที่24

    ตอบลบ
  31. รสช๊อคโกแลตเหรอ อธิบายให้เคลียร์

    ตอบลบ
  32. แท้จริงแล้วระบบในการรับรู้รสชาตินั้นไม่ได้เป็นอย่างที่ได้กล่าวไว้เลย ต่อมรับรสหนึ่งต่อมสามารถรับรู้รสชาติได้เกือบทุกรส ไม่ได้แบ่งแยกอย่างเด็ดขาดว่าต่อมนี้รับรสหวานไม่รับรสเปรี้ยว หรือต่อมนั้นรับรสเค็มไม่รับรสขมอย่างที่เข้าใจกัน ซึ่งแสดงให้เห็นว่าปลายลิ้นที่เราเข้าใจว่าใช้รับรสหวานก็สามารถรับรสเปรี้ยวได้ จึงสรุปได้ว่า ลิ้นของเรานั้นไม่ได้แบ่งเป็นโซนว่า ตรงนี้ต้องรับรสตรงนี้ แต่ทุกโซนสามารถรับรสได้หมดทุกรสเลย

    กานต์ สิตรังสี ม.4/2 เลขที่ 2

    ตอบลบ
  33. ลิ้นทำหน้าที่ช่วยคลุกเคล้าอาหารและรับความรู้สึกเกี่ยวกับรสชาติของอาหาร การที่ลิ้นสามารถรับรู้รสชาติของอาหารได้นั้น เพราะมีอวัยวะในการรับรู้รส เรียกว่า ต่อมรับรส (taste buds)

    ต่อมรับรสในลิ้นมี 5 ประเภทคือ
    1.รสหวาน
    2.รสเค็ม
    3.รสเปรี้ยว
    4.รสขม
    5.รสอุมามิหรือรสปะแล่ม
    นายวีรภัทร์ มงคลธัญพิมล ม.4/2 เลขที่ 3

    ตอบลบ
  34. รสอูมามิเกิดได้จากทั้งตัววัตถุดิบที่นำมาใช้ในการปรุงอาหาร เครื่องปรุงรสต่างๆ ที่ใช้ รวมไปถึงกรรมวิธีการปรุง ชาวญี่ปุ่นนิยมใช้วัตถุดิบ เช่น สาหร่ายทะเล และปลาโอแห้งหรือคัตสึโอะบุชิหรือ dried bonito flake ในการปรุงอาหารเพื่อให้ได้รสอูมามิ หากเป็นเครื่องปรุงก็นิยมใช้โชยุหรือซีอิ้วญี่ปุ่น ส่วนอาหารไทยนั้น รสอูมามิจะเด่นชัดในเครื่องปรุงรสพื้นบ้าน เช่น น้ำปลา กะปิ ปลาร้าของภาคอีสาน น้ำบูดูและไตปลาของภาคใต้ น้ำปู๋และถั่วเน่าของภาคเหนือ เป็นต้น ที่หลายคนคิดว่าให้เพียงรสเค็มและกลิ่นรสเฉพาะตัวเท่านั้น ที่จริงแล้วเครื่องปรุงรสเหล่านี้เป็นแหล่งของรสอูมามิที่ช่วยทำให้อาหารไทยเรามีรสชาติอร่อยกลมกล่อมด้วย
    อูมามิ เป็นรสชาติของกลูตาเมตอิสระ หนึ่งในกรดอะมิโนซึ่งเป็นองค์ประกอบของโปรตีนที่พบได้ในอาหารตามธรรมชาติ และ เครื่องปรุงรสต่างๆ อูมามิเป็นคำที่มาจากภาษาญี่ปุ่นซึ่งแปลว่ารสอร่อย ในภาษาไทยคำที่ใกล้เคียงที่สุดได้แก่ "รสหวานน้ำต้มกระดูก" หรือ "รสกลมกล่อม" รสอูมามิเป็นหนึ่งใน 5 รสชาติพื้นฐาน (basic taste) นอกเหนือไปจากรสเปรี้ยว หวาน เค็ม ขมที่ช่วยให้อาหารมีรสชาติโดยรวมดีขึ้น
    วิธวินท์ วิรุฬห์เลิศ ม4/2 เลขที่ 34

    ตอบลบ
  35. ทำไมของผมหาย อะ อาจารย์

    คอยดูเดี๋ยวโพสนี้จะหาย

    ตอบลบ
  36. การรับรสของลิ้นนั้น จะรับได้โดยต่อมรับรส(taste buds)
    ซึ่งมีอยู่ทั่วลิ้น สารเคมีจากอาหารที่เรารับประทานเข้าไปจะไปทำปฏิกิริยากับโปรตีนซึ่งลักษณะ คล้ายช่องที่เรียกว่า ช่องไอออน (ion channel )ซึ่งจะมีการทำปฏิกิริยา โดยเปลี่ยนแปลงกระแสไฟฟ้าในเซลล์รับรส แล้วส่งไปยังสมองของเรา ซึ่งต่อมรับรสในเเต่ละที่ มีความไวในการรับรสเเต่ละรสชาติไม่เท่ากันด้วย มีทั้งหมด5รสด้วยกันคือ
    1. รสหวาน (sweet)
    2. รสเค็ม (salty)
    3. รสขม (bitter)
    4. รสเปรี้ยว (sour)
    5. รสอุมามิหรือรสปะแล่ม(umami)เป็นรสชาติของ กลูตาเมตอิสระ หนึ่งในพวกกรดอะมิโน เช่น ผงซูรส
    ซึ่งเราจะรับรสได้ทั่วลิ้นที่มีต่อมรับรสนั้นเองครับ
    ส่วนรสเผ็ดนั้นเเท้จริงเป็นเเค่ความรู้สึกทางกายภาพว่า
    เเสบร้อนนั้นเองครับ

    ชัยวัฒน์ สรชัยฤทธิ์ ม.4/2เลขที่7

    ตอบลบ
  37. ลิ้นสามารถมีความรู้สึกเป็นรสชาติห้าหลัก :
    •salty เค็ม
    •sour รสเปรี้ยว
    •sweet หวาน
    •bitter ขม
    •umami umami
    คุณสมบัติของระบบการลิ้มรส
    ลิ้มรสตาเดี่ยวมี 50-100 เซลล์รสแทนความรู้สึกรสทั้ง 5 (เพื่อให้ภาพตำราคลาสสิกที่แสดงพื้นที่แยกรสบนลิ้นผิด)
    เซลล์แต่ละคนมีรสนิยมของตัวรับบน ปลาย พื้นผิว เหล่านี้เป็น ransmembrane proteins ที่ ยอมรับอิออนที่ก่อให้เกิดความรู้สึกของเค็มและเปรี้ยว ผูกกับโมเลกุลที่ก่อให้เกิดความรู้สึกของหวาน, ขม, และ umami
    รสชาติเซลล์เดียวดูเหมือนว่าจะถูก จำกัด ให้การแสดงความชนิดเดียวเท่านั้นของตัวรับ (ยกเว้นตัวรับขม)
    เซลล์ตัวรับรสมีการเชื่อมต่อผ่าน ATP - ปล่อย synapse เพื่อ เซลล์ประสาทประสาทสัมผัส ย้อนกลับมาสู่สมอง อย่างไรก็ตามเซลล์ประสาทประสาทสัมผัสเดียวสามารถเชื่อมต่อกับเซลล์หลายรสชาติในแต่ละตาหลายรสชาติที่แตกต่างกัน

    เจนภพ อาญาเมือง 4/2 เลขที่ 11

    ตอบลบ
  38. ลิ้น เป็นอวัยวะที่ช่วยในการรับรส โดยการเคลื่อนไหวกล้ามเนื้อ ทำให้สารให้รสมาสัมผัสกับต่อมรับรสได้ โดยบนลิ้นมี papillae เป็นส่วนที่ทำให้มีความรู้สึกในรส เนื่องจากมีต่อมรับรสอยู่เป็นส่วนมาก ส่วนที่ไม่มี papillae ก็จะไม่มีความรู้สึกในรสเลย ซึ่งได้แก่ ตอนกลางของลิ้น


    ตุ่มรับรส ประกอบด้วยส่วนต่างๆ ดังนี้คือ เซลล์รับรส (taste cell) เซลล์ที่อยู่รอบ ๆ taste pore เป็นรูที่เปิดให้สารละลายเข้าสู่เซลล์และเส้นประสาทที่จะนำกระแสประสาทไปสู่สมองส่วนกลาง ซึ่งม ี 3 ช่วงคือ สัญญาณจากตุ่มรับรสเข้าสู่ medulla oblongata แล้วเข้าสู่ thalamus ไปสิ้นสุดที่ cerebral cortex ส่วน parietal lobe ของสมองและเส้นประสาทที่เกี่ยวข้องกับการรับรสมี facial ซึ่งรับรสจากลิ้น 2/3 จากปลายและส่วนลิ้นไก่ glossopharyngeal รับส่วนที่เหลือของลิ้น รวมทั้งส่วนลิ้นไก่และลำคอ
    ซึ่งสามารถรับรสได้คือ รสเค็ม (saltiness) รสเปรี้ยว (sourness) รสหวาน (sweetness)รสขม (bitterness) และ รสอุมามิ หรือรสปะแล่ม(umami)
    นาย ณัฐดนัย แก้วมณี ม.4/2 เลขที่ 47

    ตอบลบ
  39. ลิ้นเป็นอวัยวะที่อยู่ในช่องปาก ช่วยคลุกเคล้าอาหารและรับรสชาติอาหาร ลิ้นของมนุษย์สามารถรับรสต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นรสพื้นฐานทั้งสี่ ได้แก่ เค็ม เปรี้ยว หวาน ขม และรสอุมามิหรือรสปะแล่ม โดยปุ่มรับรสส่วนใหญ่บนลิ้นจะอยู่ภายในบริเวณพาปิลลี เป็นร่องเป็นแนวเล็ก ๆ บนลิ้น จึงทำให้ผิวของลิ้นเหมือนผ้ากำมะหยี่ ปุ่มรับรสนั้นเป็นโครงสร้างคล้ายหัวหอมใหญ่ มีเซลล์รับรสอยู่ภายในประมาณ 50 - 100 เซลล์ แต่ละเซลล์จะมีไมโครวิลลัส อยู่ด้านบนของปุ่มรับรสที่เรียกว่า รูรับรส
    ารเคมีต่างๆ จากอาหารจะละลายในน้ำลายและผ่านรูรับรสมาสัมผัสกับเซลล์รับรส สารเคมีจากอาหารจะทำปฏิกิริยากับโปรตีนบนผิวของ เซลล์ที่เรียกว่า รีเซปเตอร์รับรส หรือทำปฏิกิริยากับโปรตีนรูปร่างคล้ายช่องที่เรียกว่า ช่องไอออน ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นจะทำให้เกิด การเปลี่ยนแปลงของกระแสไฟฟ้าภายในเซลล์รับรส และกระตุ้นเซลล์ให้ส่งสัญญาณเคมีต่อไปยังสมอง กระแสสัญญาณจะรับรสชาติโดยตีความร่วมไปกับกลิ่นและสัมผัสอื่นๆ ให้ออกมาเป็นรสชาติ

    >.< ธนา โรจน์ประเสริฐสุด ม.4/2 เลขที่ 27 >.<

    ตอบลบ
  40. ความจริงแล้ว ลิ้นทุกบริเวณที่มีปุ่มรับรสอยู่สามารถรับรสชาติได้ทุกรส ไม่ใช่ว่าลิ้นบริเวณหนึ่งจะรับรสเพียงรสเดียวอย่างที่เคยเชื่อกัน เช่น ปลายลิ้นรับรสหวาน โคนลิ้นรับรสขม เป็นต้น โดยเซลล์รับรสจะอยู่ที่ปุ่มรับรส ปุ่มรับรสบนลิ้นจะอยู่บริเวณพาปิลลี โดยพาปิลลีพวกที่มีปุ่มรับรสจะพบมากบริเวณลิ้นด้านหน้า ที่ปุ่มรับรสมีเซลล์รับรสอยู่ภายใน50-100เซลล์โดยแต่ละเซลล์จะมีส่วนที่ยื่นออกจากอช่งเปิดด้านนบนของปุ่มรับรสหรือรูรับรส เรียกว่า ไมโครวิลไล สารเคมีต่างๆจากอาหารจะละลายในน้ำลายและผ่านรูรับรสมาสัมผัสกับเซลล์รับรส รสต่างๆทั้งรสเปรี้ยว หวน เค็ม ขม หรือแม้กระทั่งรสอุมามิหรือรสปะแล่มจะเกิดจากการที่สมองตีความปฏิกิริยาทางเคมีต่างๆในเซลล์รับรส
    ปัญญากร ว่องวิชชกร ม.4/2 เลขที่19

    ตอบลบ
  41. ความคิดเห็นนี้ถูกผู้เขียนลบ

    ตอบลบ
  42. ความคิดเห็นนี้ถูกผู้เขียนลบ

    ตอบลบ
  43. ความคิดเห็นนี้ถูกผู้เขียนลบ

    ตอบลบ
  44. จากที่ผมได้อ่านบทความที่มีในเว็บนะครับ พอจะสรุปได้ว่า การรับรส ด้านบนของลิ้นเท่านั้นที่รับรสได้ ส่วนด้านล่างของลิ้นไม่สามารถรับรสได้ ทั้งนี้เพราะด้านบนของลิ้นเท่านั้นที่มีปุ่มเล็กๆ ที่เรียกว่าพาพิลลา(papilla) จำนวนมาก และภายในปุ่มเหล่านี้จะมีตุ่มรับรส(taste bud) หลายตุ่ม ตุ่มรับรสแต่ละตุ่มจะรับรสได้เพียงรสเดียว ภายในตุ่มรับรสมีเซลล์รับรส(gustatory cell)หลายเซลล์อัดกันแน่นอยู่เป็นกลุ่มๆโดยมีปลายเดนไดรต์ของเส้นประสาทสมอง คู่ที่ 7 และ 9 มาสัมผัสอยู่เพื่อนำกระแสประสาทไปแปลผลที่ศูนย์การรับรสมนซีรีบรัม โดยปลาย 2/3ของลิ้นจะรับรสและถูกส่งไปกับเส้นประสาทสมองคู่ที่ 7 ส่วนโคน 1/3 ของลิ้นจะรับรสและถูกส่งไปกับเส้นประสาทสมองคู่ที่ 9
    และการที่ลิ้น สามารถรับรสต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นรสพื้นฐานทั้งสี่ คือ เค็ม เปรี้ยว หวาน ขม และอาจรวมถึงรสอุมามิด้วยนั้นเกิดจากการที่สมองตีความปฏิกิริยาทางเคมีต่างๆ ในเซลล์รับรสของปุ่มรับรส กระบวนการทางชีวเคมีทั้งห้าที่นำ ไปสู่รสแต่ละรสนั้นแม้ว่าในความเป็นจริงแล้วเซลล์รับรสแต่ละเซลล์นั้นไม่ได้ มีไว้เพียงเพื่อให้ตอบสนองต่อสิ่งเร้ารสใดรสหนึ่งเป็นการเฉพาะ

    นายอภิรัตน์ วิเศษศิริ 4/2 เลขที่ 48

    ตอบลบ
  45. ความคิดเห็นนี้ถูกผู้เขียนลบ

    ตอบลบ
  46. ความคิดเห็นนี้ถูกผู้เขียนลบ

    ตอบลบ
  47. การรับรส ด้านบนของลิ้นเท่านั้นที่รับรสได้ ส่วนด้านล่างของลิ้นไม่สามารถรับรสได้ ทั้งนี้เพราะด้านบนของลิ้นเท่านั้นที่มีปุ่มเล็กๆ ที่เรียกว่าพาพิลลา(papilla) จำนวนมาก และภายในปุ่มเหล่านี้จะมีตุ่มรับรส(taste bud) หลายตุ่ม ตุ่มรับรสแต่ละตุ่มจะรับรสได้เพียงรสเดียว ภายในตุ่มรับรสมีเซลล์รับรส(gustatory cell)หลายเซลล์อัดกันแน่นอยู่เป็นกลุ่มๆโดยมีปลายเดนไดรต์ของเส้นประสาทสมอง คู่ที่ 7 และ 9 มาสัมผัสอยู่เพื่อนำกระแสประสาทไปแปลผลที่ศูนย์การรับรสมนซีรีบรัม โดยปลาย 2/3ของลิ้นจะรับรสและถูกส่งไปกับเส้นประสาทสมองคู่ที่ 7 ส่วนโคน 1/3 ของลิ้นจะรับรสและถูกส่งไปกับเส้นประสาทสมองคู่ที่ 9
    และการที่ลิ้น สามารถรับรสต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นรสพื้นฐานทั้งสี่ คือ เค็ม เปรี้ยว หวาน ขม และอาจรวมถึงรสอุมามิด้วยนั้นเกิดจากการที่สมองตีความปฏิกิริยาทางเคมีต่างๆ ในเซลล์รับรสของปุ่มรับรส กระบวนการทางชีวเคมีทั้งห้าที่นำ ไปสู่รสแต่ละรสนั้นแม้ว่าในความเป็นจริงแล้วเซลล์รับรสแต่ละเซลล์นั้นไม่ได้ มีไว้เพียงเพื่อให้ตอบสนองต่อสิ่งเร้ารสใดรสหนึ่งเป็นการเฉพาะ

    ขวัญ สนธิพงษ์ 4/2 เลขที่ 37

    ตอบลบ
  48. การรู้รสเป็นความรู้สึกที่เกิดได้โดยปฎิกริยาทางเคมี คือ เมื่ออาหารเข้าสู่ปาก อาหารก็จะทำปฎิกิริยากับน้ำย่อยและน้ำลายในปาก เกิดการเปลี่ยนแปลงทางเคมี ซึ่งกระตุ้นให้ตุ่มรับรสที่รับการเปลี่ยนแปลงทางเคมี รับรู้ถึงรสชาติของอาหาร แล้วส่งความรู้สึกผ่านเส้นประสาทสมองสามเส้นเข้าสู่ระบบประสาทส่วนกลาง เพื่อแปลความหมายที่สมองว่าเป็นรสอะไร
    มนุษย์สามารถรับรู้รสได้5รสคือ
    1.รสหวาน(sweet)
    2.รสเค็ม(salty)
    3.รสขม(bitter)
    4.รสเปรี้ยว(sour)
    5.รสอุมามิ (umami)
    นายภรัณยู ศฤงคาร ม4/2 เลขที่43

    ตอบลบ
  49. การรู้รสเป็นความรู้สึกที่เกิดได้โดยปฎิกริยาทางเคมี คือ เมื่ออาหารเข้าสู่ปาก อาหารก็จะทำปฎิกริยากับน้ำย่อยและน้ำลายในปาก
    เกิดการเปลี่ยนแปลงทางเคมี ซึ่งกระตุ้นให้ตุ่มรับรสที่คิยรับการเปลี่ยนแปลงทางเคมี รับรู้ถึงรสชาติของอาหาร
    แล้วส่งความรู้สึกผ่านเส้นประสาทสมองสามเส้นเข้าสู่ระบบประสาทส่วนกลาง
    เพื่อแปลความหมายที่สมองว่าเป็นรสอะไร และแปลความหมายว่าร้อนหรือเย็นได้ด้วย
    มนุษย์สามารถแยกการรู้รสต่างๆ ได้อย่างง่ายๆ 4 รส ด้วยกันคือ
    1. รสหวาน(sweet) เกิดจากสารเคมีหลายชนิด ได้แก่ น้ำตาล แอลกอฮอล์ กรดอมิโน และเกลืออนินทรีย์ของตะกั่ว
    2. รสเค็ม(salty) เกิดจากอณูของเกลือ
    3. รสขม(bitter) เกิดจากสารสองชนิดโดยเฉพาะ คือ
    3.1 สารอินทรีย์ที่มีโมเลกุล
    3.2 พวกอัลคาลอยด์ ซึ่งได้แก่ยาหลายชนิด เช่น ควินิน กาเฟอีน สตริกนิน เป็นต้น
    4. รสเปรี้ยว(sour) เกิดจากความเป็นกรด
    จากการทดสอบความไวในการรับรู้รสชนิดต่างๆ พบว่า มนุษย์มีความรู้สึกเกี่ยวกับรสได้ไวที่สุด
    ซึ่งคาดคะเนว่าเป็นกลไกตามธรรมชาติที่มีป้องกันตัว โดยสังเกตได้จาก การกินอาหารที่มีรสขมมากๆ
    มนุษย์หรือสัตว์จะคายอาหารออก ซึ่งนับว่าเป็นผลดี เพราะสารพิษหลายอย่างในธรรมชาติมีรสขมจัด
    เมื่อเราไม่สบาย ลิ้นจะมีฝ้าขาว ทำให้ไม่รู้รส จึงกินอาหารไม่อร่อย และเบื่ออาหาร
    ถ้าไม่สบายต้องดื่มน้ำบ่อยๆ กินอาหารที่มีประโยชน์ และพักผ่อนให้เพียงพอ

    นายปวริศร์ สุขุกุมารชาติ ม.4/2 เลขที่ 15

    ตอบลบ
  50. การรู้รสเป็นความรู้สึกที่เกิดได้โดยปฎิกริยาทางเคมี คือ เมื่ออาหารเข้าสู่ปาก อาหารก็จะทำปฎิกิริยากับน้ำย่อยและน้ำลายในปาก เกิดการเปลี่ยนแปลงทางเคมี ซึ่งกระตุ้นให้ตุ่มรับรส (taste buds)ที่รับการเปลี่ยนแปลงทางเคมี รับรู้ถึงรสชาติของอาหาร แล้วส่งความรู้สึกผ่านเส้นประสาทสมองสามเส้นเข้าสู่ระบบประสาทส่วนกลาง เพื่อแปลความหมายที่สมองว่าเป็นรสอะไร และยังแปลความหมายว่าร้อนหรือเย็นได้อีกด้วย

    นาย รัตนพล สันติธรรมเมธี ม.4/2 เลขที่ 32


    นอกจากนี้มนุษย์ยังสามารถแยกการรู้รสได้อย่างง่าย ๆ 5 รสด้วยกันคือ
    1. รสหวาน (sweetness)
    2. รสเค็ม (saltness)
    3. รสขม (bitterness)
    4. รสเปรี้ยว (sourness)
    5. รสอุมามิหรือรสปะแล่ม (umami เป็นรสชาติของกลูตาเมตอิสระ หนึ่งในกรดอะมิโน) เช่น ผงชูรส

    ตอบลบ
  51. ลิ้นทำหน้าที่ช่วยคลุกเคล้าอาหารและรับความรู้สึกเกี่ยวกับรสชาติของอาหาร การที่ลิ้นสามารถรับรู้รสชาติของอาหารได้ เพราะมีอวัยวะในการรับรส คือ ต่อมรับรส (taste buds)
    ลิ้นรับรสได้ 5 ประเภทได้แก่
    1.รสหวาน
    2.รสเค็ม
    3.รสเปรี้ยว
    4.รสขม
    5.รสอุมามิหรือรสปะแล่ม
    นาย อัครวุฒิ สว่างคำ ม.4/2 เลขที่ 38

    ตอบลบ
  52. การรู้รสเป็นความรู้สึกที่เกิดได้โดยปฎิกริยาทางเคมี คือ เมื่ออาหารเข้าสู่ปาก อาหารก็จะทำปฎิกริยากับน้ำย่อยและน้ำลายในปาก เกิดการเปลี่ยนแปลงทางเคมี ซึ่งกระตุ้นให้ตุ่มรับรสที่คิยรับการเปลี่ยนแปลงทางเคมี รับรู้ถึงรสชาติของอาหาร แล้วส่งความรู้สึกผ่านเส้นประสาทสมองสามเส้นเข้าสู่ระบบประสาทส่วนกลาง เพื่อ แปลความหมายที่สมองว่าเป็นรสอะไร และแปลความหมายว่าร้อนหรือเย็นได้ด้วย
    มนุษย์สามารถแยกการรู้รสต่างๆ ได้อย่างง่ายๆ 5 รส ด้วยกันคือ
    1. รสหวาน(sweet) เกิดจากสารเคมีหลายชนิด ได้แก่ น้ำตาล แอลกอฮอล์ กรดอมิโน และเกลืออนินทรีย์ของตะกั่ว
    2. รสเค็ม(salty) เกิดจากอณูของเกลือ
    3. รสขม(bitter) เกิดจากสารสองชนิดโดยเฉพาะ คือ
    3.1 สารอินทรีย์ที่มีโมเลกุล
    3.2 พวกอัลคาลอยด์ ซึ่งได้แก่ยาหลายชนิด เช่น ควินิน กาเฟอีน สตริกนิน เป็นต้น
    4. รสเปรี้ยว(sour) เกิดจากความเป็นกรด
    5. รสอุมามิหรือรสปะแล่ม (umami เป็นรสชาติของกลูตาเมตอิสระ หนึ่งในกรดอะมิโน) เช่น ผงชูรส

    จากการทดสอบความไวในการรับรู้รสชนิดต่างๆ พบว่า มนุษย์มีความรู้สึกเกี่ยวกับรสได้ไวที่สุด ซึ่งคาดคะเนว่าเป็นกลไกตามธรรมชาติที่มีป้องกันตัว โดยสังเกตได้จาก การกินอาหารที่มีรสขมมากๆ มนุษย์หรือสัตว์จะคายอาหารออก ซึ่งนับว่าเป็นผลดี เพราะสารพิษหลายอย่างในธรรมชาติมีรสขมจัด
    เมื่อเราไม่สบาย ลิ้นจะมีฝ้าขาว ทำให้ไม่รู้รส จึงกินอาหารไม่อร่อย และเบื่ออาหาร ถ้าไม่สบายต้องดื่มน้ำบ่อยๆ กินอาหารที่มีประโยชน์ และพักผ่อนให้เพียงพอ
    การดูแลรักษาลิ้น
    ในยามปกติ เราก็ควรระวังรักษาลิ้นมิให้เป็นโรคหรืออันตรายต่างๆ ด้วยการทำความสะอาดลิ้นอยู่เสมอ เวลากินอาหารควรค่อยๆ เคี้ยว ไม่ควรรีบร้อน เพราะอาจกัดลิ้นตนเองเป็นแผลได้และไม่ควรกิน อาหารที่ร้อนมากๆ หรืออาหารที่มีรสเผ็ดจัด เปรี้ยวจัด เพราะทำให้ลิ้นชาได้ หมั่นสังเกตว่าลิ้นเป็นฝ้าขาว หรือเป็นแผลหรือไม่ ถ้ามีอาการผิดปกติดังกล่าวก็ควร รีบรักษา

    ตอบลบ
  53. "ลิ้น"สามารถรับรสได้ 5รส คือ เค็ม เปรี้ยว หวาน ขม และรสอุมามิ ซึ่งเกิดจากการที่สมองตีความปฏิกิริยาทางเคมีต่างๆ ในเซลล์รับรสของปุ่มรส ซึ่งกระบวนการทางชีวเคมีทั้งห้าที่นำไป
    สู่รสแต่ละรสได้นั้น มีวิธีการดังนี้
    1.เกลือ จะกระตุ้นเซลล์รับรสโดยไอออนของโซเดียม จะผ่านเข้าช่องของไอออนบนไมโครวิลไลที่บริเวณผิวด้านปลายยอดของเซลล์ ซึ่งการเพิ่มขึ้นของไอออนโซเดียมภายในเซลล์นี้ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางไฟฟ้าเคมีที่เรียกว่า การสลับขั้ว ซึ่งจะส่งผลให้ไอออนของแคลเซียมเข้ามาภายในเซลล์ได้ และเซลล์รับรสจะกลับขั้วตัวมันให้กลับเป็นประจุลบโดยการเปิดช่องไอออนโปแตสเซียม เพื่อให้ไอออนของโปแตสเซียม สามารถออกไปได้
    2.กรด มีรสเปรี้ยวเกิดจากการที่มันปล่อยไอออนของไฮโดรเจนออกกมาได้ในสารละลาย และไอออนเหล่านี้จะเข้าไปกระทำต่อเซลล์รับรสามทาง คือ 1.เข้าไปในเซลล์โดยตรง 2.ขัดขวางช่องไอออนโปแตสเซียม บนไมโครวิล
    ไล และการจับเข้ากับช่องบนไมโครวิลไลเพื่อเปิดให้ไอออนประจุบวกอื่นๆ
    3.รสหวาน การทำงานจไม่ผ่านเข้าเซลล์รับรสเหมือนกับกรด และ เกลือ แต่ก็จะกระตุ้นให้เิกิดการเปลี่ยนแปลงภายในเซลล์โดยจับกับรีเซปเตอร์บนผิวของเซลล์รับรสซึ่งมีโมเลกุลที่เรียกว่า จีโปรตีน
    4.รสขม การทำงานจะผ่านรีเซปเตอร์ที่มีจีโปรตีนติดอยู่ และผ่านตัวนำสารทุติยภูมิ
    5.รสอุมามิ การทำงานจะไปจับกับรีเซปเตอร์ที่มีจีโปรตีนติดอยู่ และกระตุ้นตัวนำสารทุติยภูมิ

    นาย ธนา ปัณยวณิช ม.4/2 เลขที่25 ~

    ตอบลบ
  54. "ลิ้น" เป็นอวัยวะในปากช่วยคลุกเคล้าอาหาร และรับรู้ถึงรสชาติอาหาร การที่ลิ้นนั้นสามารถรับรสได้ เกิดจากต่อมรับรส
    ซึ่งต่อมรับรส สามารถรับถึงรสได้4รสชาติ 1.เปรี้ยว 2.เค็ม 3.หวาน และ4.ขม การู้รสชาติเกิดจากปฏิกริยาในช่องปากที่อาหารไปเจอกับน้ำลาย แล้วเกิดปฏิกริยาทางเคมีขึ้นมาโดยไปกระตุ้นต่อมรับรส จึงทำให้เราสามารถรับรู้รสชาติได้

    ตอบลบ
  55. ลิ้นของคนเราโดยทั่วไปสามาระรับรสได้5รสคือ1.รสหวาน(sweet)
    2.รสเค็ม(salty)
    3.รสขม(bitter)
    4.รสเปรี้ยว(sour)
    5.รสอุมามิ (umami)

    แต่การรับรสแต่ละรส สามารถรับได้ในเกือบทุกจุดขของลิ้นไม่ใช่บริเวณใดบริเวณ

    ตอบลบ
  56. การรับรู้รสเป็นความรู้สึกที่เกิดได้โดยปฎิกริยาทางเคมี คือ เมื่ออาหารเข้าสู่ปาก อาหารก็จะทำปฎิกริยากับน้ำย่อยและน้ำลายในปาก

    เกิดการเปลี่ยนแปลงทางเคมี ซึ่งกระตุ้นให้ตุ่มรับรสที่คิยรับการเปลี่ยนแปลงทางเคมี รับรู้ถึงรสชาติของอาหาร แล้วส่งความรู้สึกผ่านเส้นประสาทสมองสามเส้นเข้าสู่ระบบประสาทส่วนกลาง เพื่อแปลความหมายที่สมองว่าเป็นรสอะไร และแปลความหมายว่าร้อนหรือเย็นได้ด้วย

    มนุษย์สามารถแยกการรู้รสต่างๆ ได้อย่างง่ายๆ 4 รส ด้วยกันคือ

    1. รสหวาน(sweet) เกิดจากสารเคมีหลายชนิด ได้แก่ น้ำตาล แอลกอฮอล์ กรดอมิโน และเกลืออนินทรีย์ของตะกั่ว
    2. รสเค็ม(salty) เกิดจากอณูของเกลือ
    3. รสขม(bitter) เกิดจากสารสองชนิดโดยเฉพาะ คือ
    3.1 สารอินทรีย์ที่มีโมเลกุล
    3.2 พวกอัลคาลอยด์ ซึ่งได้แก่ยาหลายชนิด เช่น ควินิน กาเฟอีน สตริกนิน เป็นต้น
    4. รสเปรี้ยว(sour) เกิดจากความเป็นกรด

    จากการทดสอบความไวในการรับรู้รสชนิดต่างๆ พบว่า มนุษย์มีความรู้สึกเกี่ยวกับรสได้ไวที่สุด ซึ่งคาดคะเนว่าเป็นกลไกตามธรรมชาติที่มีป้องกันตัว โดยสังเกตได้จาก การกินอาหารที่มีรสขมมากๆ มนุษย์หรือสัตว์จะคายอาหารออก ซึ่งนับว่าเป็นผลดี เพราะสารพิษหลายอย่างในธรรมชาติมีรสขมจัด

    เมื่อเราไม่สบาย ลิ้นจะมีฝ้าขาว ทำให้ไม่รู้รส จึงกินอาหารไม่อร่อย และเบื่ออาหาร ถ้าไม่สบายต้องดื่มน้ำบ่อยๆ กินอาหารที่มีประโยชน์ และพักผ่อนให้เพียงพอ
    >_< นาย ธเนศ แซ่โซว ม.4/2 เลขที่ 1>_<

    ตอบลบ
  57. เพิ่มเติมนะครับ
    จากที่ได้ศึกษาความสามารถในการรับรูรสของลิ้นแบ่งออกเปน 5 ลักษณะ คือ รสเค็ม (saltiness) รสเปรี้ยว (sourness) รสหวาน (sweetness) รสขม (bitterness)และ รสอุมามิ (umami) หรือรสปะแลม มีสารสำคัญที่ให้รสอูมามิ อยู่สามชนิด คือ กลูตาเมต (glutamate) ไอโนซิเนต (inosinate)และ กัวไนเลต (guanylate) กลูตาเมตเป็นกรดอะมิโนที่มีอยู่มากมายในธรรมชาติ ส่วนนิวคลีโอไทด์ (Nucleotides) ที่ให้รสอูมามิ มากที่สุดอย่าง ไอโนซิเนตและกัวไนเลตก็พบได้ในอาหารหลายชนิด

    ตอบลบ
  58. ความคิดเห็นนี้ถูกผู้เขียนลบ

    ตอบลบ
  59. เป็นที่เข้าใจกันแต่โบราณกาลนะครับว่า!!!!
    รสชาติของอาหารนั้นประกอบด้วยรสพื้นฐาน
    4 รสด้วยกัน คือ
    1.รสเปรี้ยว
    2.รสหวาน
    3.รสเค็ม
    4.รสขม
    แต่ปัจจุบันนี้มีรสใหม่เพิ่มขึ้นมาแล้วนะ นั่นคือรสอูมามิ
    อูมามินั้นก็เปรียบได้กับ รสอร่อย หรือรสกล่อมกล่อมนั่นเอง

    นายเจษฎา อยู่สมสุข ม.4/2 เลขที่ 14 ^^

    ตอบลบ
  60. ไม่ระบุชื่อ2 ธันวาคม 2553 เวลา 05:40

    รสช็อกโกแลตก้อคือรสหวานงัยครับ ^^
    และรสอุมามิก้อคือยี่ห้อของซี่อิ๊วชนิดหนึ่ง เป็นรสที่กลมกล่อมแร้วก้ออร่อยคับ :))

    ตอบลบ
  61. การรับรส ด้านบนของลิ้นเท่านั้นที่รับรสได้ ส่วนด้านล่างของลิ้นไม่สามารถรับรสได้ ทั้งนี้เพราะด้านบนของลิ้นเท่านั้นที่มีปุ่มเล็กๆ ที่เรียกว่าพาพิลลา(papilla) จำนวนมาก และภายในปุ่มเหล่านี้จะมีตุ่มรับรส(taste bud) หลายตุ่ม ตุ่มรับรสแต่ละตุ่มจะรับรสได้เพียงรสเดียว ภายในตุ่มรับรสมีเซลล์รับรส(gustatory cell)หลายเซลล์อัดกันแน่นอยู่เป็นกลุ่มๆโดยมีปลายเดนไดรต์ของเส้นประสาทสมอง คู่ที่ 7 และ 9 มาสัมผัสอยู่เพื่อนำกระแสประสาทไปแปลผลที่ศูนย์การรับรสมนซีรีบรัม โดยปลาย 2/3ของลิ้นจะรับรสและถูกส่งไปกับเส้นประสาทสมองคู่ที่ 7 ส่วนโคน 1/3 ของลิ้นจะรับรสและถูกส่งไปกับเส้นประสาทสมองคู่ที่ 9
    และลิ้นสามารถรับรสได้ 5 รสด้วยกันคือ
    1. รสหวาน (sweetness)
    2. รสเค็ม (saltness)
    3. รสขม (bitterness)
    4. รสเปรี้ยว (sourness)
    5. รสอุมามิหรือรสปะแล่ม (umami เป็นรสชาติของกลูตาเมตอิสระ หนึ่งในกรดอะมิโน) เช่น ผงชูรส

    นาย วศิน ฟองอมรกุล ม.4/2 เลขที่ 46

    ตอบลบ
  62. โดยทั่วไปแล้ว นักวิทยาศาสตร์มักจะจำ แนกความสามารถในการรับรู้รสออกเป็นสี่ลักษณะ คือ รสเค็ม รสเปรี้ยว รสหวาน และรสขม อย่างไรก็ตาม ยังมีอีกรสหนึ่งอยู่ด้วย เรียก รสอุมามิ หรือรสปะแล่ม รสนี้เป็นรสของสารกลูตาเมต หนึ่งในกรดอะมิโน 20 ตัวที่เป็นองค์ประกอบของโปรตีนในเนื้อ ปลา และถั่ว
    รสต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นรสพื้นฐานทั้งสี่ คือ เค็ม เปรี้ยว หวาน ขม และอาจรวมถึงรสอุมามิด้วยนั้น จะเกิดจากการที่สมองตีความปฏิกิริยาทางเคมีต่างๆ ในเซลล์รับรสของปุ่มรับรส
    ปุ่มรับรสส่วนใหญ่บนลิ้นจะอยู่ภายในบริเวณพาปิลลีกซึ่งเป็นร่องเป็นแนวเล็กๆ บนลิ้นที่ทำ ให้ผิวลิ้นดูเหมือนกับผ้ากำ มะหยี่ซึ่งปุ่มรับรสนั้นเป็นโครงสร้างคล้ายหัวหอมใหญ่ มีเซลล์รับรสอยู่ภายในประมาณ 50 ถึง 100 เซลล์

    ตอบลบ
  63. จริงๆรสต่างๆ ทุกรสนั้นสามารถที่จะบอกได้จากบริเวณใดก็ตามของลิ้นที่มีปุ่มรับรสอยู่ โดยมีอยู่ 5 รส คือ
    เค็ม เปรี้ยว หวาน ขม และ รสอุมามิ รสอร่อยกลมกล่อม ซึ่งรับรสโดยปุ่มรับรสซึ่งปุ่มรับรสนั้นเป็นโครงสร้างคล้ายหัวหอมใหญ่ มีเซลล์รับรสอยู่ภายในประมาณ 50 ถึง 100 เซลล์ โดยที่แต่ละ
    เซลล์จะมีส่วนที่ยื่นขึ้นมาคล้ายกับนิ้วมือที่เรียกว่า ไมโครวิลไล (microvilli) ซึ่งจะยื่นออกจากช่องเปิดบริเวณด้านบนของ
    ปุ่มรับรสที่เรียกว่า รูรับรส (taste pore) สารเคมีต่างๆ จากอาหารจะละลายในนํ้าลายและผ่านรูรับรสมาสัมผัสกับเซลล์รับ
    รส สารเคมีจากอาหารจะทำ ปฏิกิริยากับโปรตีนบนผิวของเซลล์ที่เรียกว่า รีเซปเตอร์รับรส (taste receptor) หรือทำ
    ปฏิกิริยากับโปรตีนรูปร่างคล้ายช่องที่เรียกว่า ช่องไอออน (ion channel) ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นจะทำ ให้เกิดการเปลี่ยนแปลง
    ของกระแสไฟฟ้าภายในเซลล์รับรส และกระตุ้นเซลล์ให้ส่งสัญญาณเคมีต่อไปยังสมอง และเซลล์ประสาทจะตีความรสนั้นออกมา

    ตอบลบ
  64. ลิ้นของมนุษย์สามารถรับรสต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นรสพื้นฐานทั้งสี่ ได้แก่ เค็ม เปรี้ยว หวาน ขม หรืออาจรวมไปถึงรสอร่อย จากเซลล์รับรสซึ่งเรียงตัวอยู่ในปุ่มรับรส (taste bud) โดยปุ่มรับรสส่วนใหญ่บนลิ้นจะอยู่ภายในบริเวณพาปิลลี (papillae) ซึ่งเป็นร่องเป็นแนวเล็ก ๆ บนลิ้นที่ทำให้ผิวลิ้นดูเหมือนผ้ากำมะหยี่ ปุ่มรับรสนั้นเป็นโครงสร้างคล้ายหัวหอมใหญ่ มีเซลล์รับรสอยู่ภายในประมาณ 50 ถึง 100 เซลล์ โดยที่แต่ละเซลล์จะมีส่วนที่ยื่นขึ้นมาคล้ายกับนิ้วมือที่เรียกว่า ไมโครวิลไล (microvilli) ซึ่งจะยื่นออกจากช่องเปิดบริเวณด้านบนของปุ่มรับรสที่เรียกว่า รูรับรส (taste pore) สารเคมีต่างๆ จากอาหารจะละลายในน้ำลายและผ่านรูรับรสมาสัมผัสกับเซลล์รับรส สารเคมีจากอาหารจะทำปฏิกิริยากับโปรตีนบนผิวของ เซลล์ที่เรียกว่า รีเซปเตอร์รับรส (taste receptor) หรือทำปฏิกิริยากับโปรตีนรูปร่างคล้ายช่องที่เรียกว่า ช่องไอออน (ion channel)ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นจะทำให้เกิด การเปลี่ยนแปลงของกระแสไฟฟ้าภายในเซลล์รับรส และกระตุ้นเซลล์ให้ส่งสัญญาณเคมีต่อไปยังสมอง กระแสสัญญาณจะถูกตีความร่วมไปกับกลิ่นและสัมผัสอื่นๆ ให้ออกมาเป็นรสชาติ

    ตอบลบ
  65. เชคแล้วน้ะ เหนื่อยย ไคร ส่งหลังจากนี้กรุณา pm มาด้วย เด๋วใม่ได้เชคไห้ครั้บ

    ตอบลบ
  66. ลิ้นคือมัดของกล้ามเนื้อที่อยู่บริเวณฐานของช่องปากเพื่อรองรับอาหาร และช่วยในการเคี้ยวการกลืนและคลุกเคล้าอาหาร ให้เข้ากันเป็นอวัยวะที่สำคัญในการรับรส
    ตามจริงแล้ว ลิ้นของเรานั้นไม่มีแผนที่รสไว้รับรส แต่ที่จริงแล้วเป็นปุ่มรับรสต่างหากที่คอยรับรสชาติต่างๆของอาหารให้กับเรา ซึ่งลิ้นของเรานั้นรับรสได้ 5 ชนิด
    1.รสเค็ม เช่น โซเดียมคลอไรด์หรือเกลือนั่นเอง
    2.รสเปรี้ยว ได้รับจากความเป็นกรด เช่นมะนาวหรือน้ำส้มสายชู
    3.รสหวาน เช่นน้ำตาลหรือสารให้ความหวานสังเคราะห์อื่นๆ
    4.รสขม ได้แก่ ยาหลายชนิดและกาเฟอีน(กาแฟ)
    5.รสอูมามิ(รสอร่อยกลมกล่อม) เช่น กลูตาเมต

    ตอบลบ
  67. การรู้รสเป็นความรู้สึกที่เกิดได้โดยปฎิกริยาทางเคมี คือ เมื่ออาหารเข้าสู่ปาก อาหารก็จะทำปฎิกิริยากับน้ำย่อยและน้ำลายในปาก เกิดการเปลี่ยนแปลงทางเคมี ซึ่งกระตุ้นให้ตุ่มรับรสที่รับการเปลี่ยนแปลงทางเคมี รับรู้ถึงรสชาติของอาหาร แล้วส่งความรู้สึกผ่านเส้นประสาทสมองสามเส้นเข้าสู่ระบบประสาทส่วนกลาง เพื่อแปลความหมายที่สมองว่าเป็นรสอะไร และแปลความหมายว่าร้อนหรือเย็นได้ด้วย
    และลิ้นสามารถรับรสได้ 5 รสด้วยกันคือ
    1. รสหวาน (sweetness)
    2. รสเค็ม (saltness)
    3. รสขม (bitterness)
    4. รสเปรี้ยว (sourness)
    5. รสอุมามิหรือรสปะแล่ม (umami เป็นรสชาติของกลูตาเมตอิสระ หนึ่งในกรดอะมิโน)
    นาย ปวรุตม์ ดีทองอ่อน ม.4/2 เลขที่ 10

    ตอบลบ
  68. ลิ้น
    ลิ้นเป็นอวัยวะในช่องปาก ทำหน้าที่ช่วยคลุกเคล้าอาหารและรับความรู้สึกเกี่ยวกับรสชาติของอาหาร การที่ลิ้นสามารถรับรู้รสชาติของอาหารได้นั้น เพราะมีอวัยวะในการรับรู้รส เรียกว่า ตุ่มรับรส (taste buds) อยู่บนลิ้น
    ตุ่มรับรส
    มีลักษณะกลมรี ประกอบด้วยเซลล์รูปทรงกระสวย และปลายเส้นประสาทที่รับรู้รสสามเส้น
    ตุ่มรับรสส่วนใหญ่พบที่ด้านหน้า และด้านข้างของลิ้น ส่วนบนของต่อมทอนซิล เพดานปาก และหลอดคอ พบเป็นส่วนน้อย จากการทดลองแล้วปรากฎว่า ตุ่มรับรสมีอย่างน้อยที่สุด ประมาณ 4 ชนิดด้วยกัน ซึ่งจะคอยรับรสแต่ละอย่าง คือ
    1. รสหวาน
    2. รสเค็ม
    3. รสขม
    4. รสเปรี้ยว
    ตุ่มรับรสเหล่านี้อยู่ตามบริเวณต่างๆ บนลิ้น
    การรู้รส
    การรู้รสเป็นความรู้สึกที่เกิดได้โดยปฎิกริยาทางเคมี คือ เมื่ออาหารเข้าสู่ปาก อาหารก็จะทำปฎิกริยากับน้ำย่อยและน้ำลายในปาก เกิดการเปลี่ยนแปลงทางเคมี ซึ่งกระตุ้นให้ตุ่มรับรสที่คิยรับการเปลี่ยนแปลงทางเคมี รับรู้ถึงรสชาติของอาหาร แล้วส่งความรู้สึกผ่านเส้นประสาทสมองสามเส้นเข้าสู่ระบบประสาทส่วนกลาง เพื่อ แปลความหมายที่สมองว่าเป็นรสอะไร และแปลความหมายว่าร้อนหรือเย็นได้ด้วย
    มนุษย์สามารถแยกการรู้รสต่างๆ ได้อย่างง่ายๆ 4 รส ด้วยกันคือ
    1. รสหวาน(sweet) เกิดจากสารเคมีหลายชนิด ได้แก่ น้ำตาล แอลกอฮอล์ กรดอมิโน และเกลืออนินทรีย์ของตะกั่ว
    2. รสเค็ม(salty) เกิดจากอณูของเกลือ
    3. รสขม(bitter) เกิดจากสารสองชนิดโดยเฉพาะ คือ
    3.1 สารอินทรีย์ที่มีโมเลกุล
    3.2 พวกอัลคาลอยด์ ซึ่งได้แก่ยาหลายชนิด เช่น ควินิน กาเฟอีน สตริกนิน เป็นต้น
    4. รสเปรี้ยว(sour) เกิดจากความเป็นกรด
    จากการทดสอบความไวในการรับรู้รสชนิดต่างๆ พบว่า มนุษย์มีความรู้สึกเกี่ยวกับรสได้ไวที่สุด ซึ่งคาดคะเนว่าเป็นกลไกตามธรรมชาติที่มีป้องกันตัว โดยสังเกตได้จาก การกินอาหารที่มีรสขมมากๆ มนุษย์หรือสัตว์จะคายอาหารออก ซึ่งนับว่าเป็นผลดี เพราะสารพิษหลายอย่างในธรรมชาติมีรสขมจัด
    เมื่อเราไม่สบาย ลิ้นจะมีฝ้าขาว ทำให้ไม่รู้รส จึงกินอาหารไม่อร่อย และเบื่ออาหาร ถ้าไม่สบายต้องดื่มน้ำบ่อยๆ กินอาหารที่มีประโยชน์ และพักผ่อนให้เพียงพอ
    การดูแลรักษาลิ้น
    ในยามปกติ เราก็ควรระวังรักษาลิ้นมิให้เป็นโรคหรืออันตรายต่างๆ ด้วยการทำความสะอาดลิ้นอยู่เสมอ เวลากินอาหารควรค่อยๆ เคี้ยว ไม่ควรรีบร้อน เพราะอาจกัดลิ้นตนเองเป็นแผลได้และไม่ควรกิน อาหารที่ร้อนมากๆ หรืออาหารที่มีรสเผ็ดจัด เปรี้ยวจัด เพราะทำให้ลิ้นชาได้ หมั่นสังเกตว่าลิ้นเป็นฝ้าขาว หรือเป็นแผลหรือไม่ ถ้ามีอาการผิดปกติดังกล่าวก็ควร รีบรักษา

    ตอบลบ
  69. ลิ้นจะสามารถรับรสต่างๆได้จากบริเวณใดก็ตามของลิ้นที่มีปุ่มรับรส โดยปุ่มรับรสของลิ้นจะอยู่ในบริเวณพาปิลลีซึ่งเป็นร่องแนวเล็กๆบนลิ้น โดยพาปิลลีพวกที่มีปุ่มรับรส หรือที่เรียกว่าแบบฟังจิฟอร์มนั้น จะพบมากบริเวณลิ้นด้านหน้า บริเวณด้านในของลิ้นจะพบพาปิลลีขนาดใหญ่ประมาณ 12อัน พาปิลลีพวกนี้มีปุ่มรับรสและเรียกกันว่า พาปิลลีแบบเซอร์คัมวาลเลต นอกจากนี้เรายังพบปุ่มรับรสได้อีกตามบริเวณพาปิลลีแบบฟอลลิเอต ซึ่งเป็นแนวร่องขนาดเล็กอยู่บริเวณทั้งสองข้างของลิ้นด้านใน ซึ่งสามารถรับรสได้คือ
    - รสเค็ม (saltiness)
    - รสเปรี้ยว (sourness)
    - รสหวาน (sweetness)
    - รสขม (bitterness)
    - รสอุมามิ (umami)หรือ รสปะแล่ม รสนี้เป็นรสของสารกลูตาเมต (glutamate) หนึ่งในกรดอะมิโน 20 ตัวที่เป็นองค์ประกอบของโปรตีนในเนื้อ ปลา และถั่ว คนไทยรู้จักสารกลูตาเมตนี้เป็นอย่างดีจากการที่มันเป็นองค์ประกอบหลักของสารช่วยเพิ่มรสชาติของอาหาร ดังเช่น ผงชูรส

    ตอบลบ
  70. การรู้รสเป็นความรู้สึกที่เกิดได้โดยปฎิกริยาทางเคมี คือ เมื่ออาหารเข้าสู่ปาก อาหารก็จะทำปฎิกริยากับน้ำย่อยและน้ำลายในปาก
    เกิดการเปลี่ยนแปลงทางเคมี ซึ่งกระตุ้นให้ตุ่มรับรสที่คิยรับการเปลี่ยนแปลงทางเคมี รับรู้ถึงรสชาติของอาหาร
    แล้วส่งความรู้สึกผ่านเส้นประสาทสมองสามเส้นเข้าสู่ระบบประสาทส่วนกลาง
    เพื่อแปลความหมายที่สมองว่าเป็นรสอะไร และแปลความหมายว่าร้อนหรือเย็นได้ด้วย
    มนุษย์สามารถแยกการรู้รสต่างๆ ได้อย่างง่ายๆ 5 รส ด้วยกันคือ
    1. รสหวาน(sweet) เกิดจากสารเคมีหลายชนิด ได้แก่ น้ำตาล แอลกอฮอล์ กรดอมิโน และเกลืออนินทรีย์ของตะกั่ว
    2. รสเค็ม(salty) เกิดจากอณูของเกลือ
    3. รสขม(bitter) เกิดจากสารสองชนิดโดยเฉพาะ คือ
    3.1 สารอินทรีย์ที่มีโมเลกุล
    3.2 พวกอัลคาลอยด์ ซึ่งได้แก่ยาหลายชนิด เช่น ควินิน กาเฟอีน สตริกนิน เป็นต้น
    4. รสเปรี้ยว(sour) เกิดจากความเป็นกรด
    จากการทดสอบความไวในการรับรู้รสชนิดต่างๆ พบว่า มนุษย์มีความรู้สึกเกี่ยวกับรสได้ไวที่สุด
    ซึ่งคาดคะเนว่าเป็นกลไกตามธรรมชาติที่มีป้องกันตัว โดยสังเกตได้จาก การกินอาหารที่มีรสขมมากๆ
    มนุษย์หรือสัตว์จะคายอาหารออก ซึ่งนับว่าเป็นผลดี เพราะสารพิษหลายอย่างในธรรมชาติมีรสขมจัด
    เมื่อเราไม่สบาย ลิ้นจะมีฝ้าขาว ทำให้ไม่รู้รส จึงกินอาหารไม่อร่อย และเบื่ออาหาร
    ถ้าไม่สบายต้องดื่มน้ำบ่อยๆ กินอาหารที่มีประโยชน์ และพักผ่อนให้เพียงพอ
    5.รสอุมามิ (umami)หรือ รสปะแล่ม รสนี้เป็นรสของสารกลูตาเมต (glutamate) หนึ่งในกรดอะมิโน 20 ตัวที่เป็นองค์ประกอบของโปรตีนในเนื้อ ปลา และถั่ว คนไทยรู้จักสารกลูตาเมตนี้เป็นอย่างดีจากการที่มันเป็นองค์ประกอบหลักของสารช่วยเพิ่มรสชาติของอาหาร ดังเช่น ผงชูรส

    นายปวริศร์ สุขุกุมารชาติ ม.4/2 เลขที่ 15

    ตอบลบ


Uploaded with ImageShack.us
Uploaded with ImageShack.us