Uploaded with ImageShack.us

วันจันทร์, พฤศจิกายน 29, 2553

คำถามครั้งที่ 2 มัธยมศึกษาชั้นปีที่ 5/3




41 ความคิดเห็น:

  1. ความคิดเห็นนี้ถูกผู้เขียนลบ

    ตอบลบ
  2. ความคิดเห็นนี้ถูกผู้เขียนลบ

    ตอบลบ
  3. ความคิดเห็นนี้ถูกผู้เขียนลบ

    ตอบลบ
  4. ความคิดเห็นนี้ถูกผู้เขียนลบ

    ตอบลบ
  5. ความคิดเห็นนี้ถูกผู้เขียนลบ

    ตอบลบ
  6. 1.กายวิภาควิทยาของรากใบเลี้ยงเดี่ยวกับใบเลี้ยงคู่แตกต่างกันอย่างไร

    กายวิภาควิทยาของรากพืชใบเลี้ยงเดี่ยวจะมีแฉกของเซลล์ไซเลม 4-5แฉก
    ส่วนรากของพืชใบเลี้ยงคู่จะมีแฉกของไซเลม 4-6 แฉก
    และในรากพืชใบเลี้ยงเดี่ยวจะมีเซลล์โฟลเอมแทรกระหว่างแฉกของเซลล์ไซเลม
    แต่ในรากพืชใบเลี้ยงคู่มีวาสคิวลาร์แคมเบียม และเมื่อพืชมีอ
    ายุมากขึ้นวาสคิวลาร์แคมเบียมจะแบ่งตัวให้วาสคิวลาร์บัน
    เดิล
    2.สัณฐานวิทยากับกายวิภาควิทยาของพืชแตกต่างกันอย่างไร

    สัณฐานวิทยาของพืชคือการศึกษาลักษณะโครงสร้างภายนอกของพืช เช่น การศึกษาต้นพลูด่างดูโครงสร้างภายของ ลำต้น ใบ และราก ว่าเป็นประเภทใด ส่วน กายวิภาคของพืชคือ การศึกษาโครงสร้างต่างๆ ภายในที่ไม่สามารถมองจากภายนอกได้ เช่นการผ่าแล้วดูเซลล์ภายใน ของพืช
    3.กายวิภาคของลำต้นใบเลี้ยงเดี่ยวและใบเลี้ยงคู่แตกต่างกันอย่างไร

    ลำต้นพืชใบเลี้ยงเดี่ยว
    1.ข้อปล้องไม่ชัดเจน 2.Vascular bundle เรียงตัวกันเป็นระเบียบ3.มีvascular cambium4.มีsecondary growth5.มีannual ring6.xylem และ phloem ทำงานได้ไม่นาน
    ลำต้นพืชใบเลี้ยงคู่ 1.มีข้อปล้องชัดเจน2.Vascular bundle เรียงตัวกันไม่เป็นระเบียบ3.ไม่มีvascular cambium4.ไม่มีsecondary growth5.ไม่มีannual ring6.xylem และ phloem ทำงานได้นาน
    4.เนื้อเยื่อพืชแบ่งออกเป็นกี่ระบบอะไรบ้าง

    เนื้อเยื่อพืชแบ่งออกเป็น3ระบบแบ่งเป็น
    1.เนื้อเยื่อพื้น (ground tissue)เป็นกลุ่มของเซลล์ที่รวมตัวกันอยู่พื้นผิวภายนอกของใบไม้และพืชที่มีอายุไม่มาก
    2.เนื้อเยื่อท่อลำเลียง(Vascular tissue)หลักที่สำคัญของพืชคือ ไซเล็ม (xylem) และ โฟลเอ็ม (phloem) ทำหน้าที่ขนส่งน้ำ สารละลาย และสารอาหารภายในต้นพืช
    3.เนื้อเยื่อชั้นผิว(Epidermis) เป็นกลุ่มของเซลล์ที่รวมตัวกันอยู่พื้นผิวภายนอกของใบไม้และพืชที่มีอายุไม่มาก
    5.Dermal tissue ต่างจาก epidermis อย่างไร

    Dermal tissue คือเนื้อเยื่อพื้นพบเฉพาะการเจริญเติบโตระยะแรก epidermis เป็นเซลล์ชั้นที่อยู่นอกสุดเป็นเซลล์เพียงชนิดเดียวและปกคลุมอยู่ทุกส่วนของพืชพบทั้งการเจริญเติบโตระยะแรก(primary growth)และระยะที่สอง(secondary growth)
    6.Ground tissue กับ cortex ต่างกันอย่างไร

    Ground tissue เนื้อเยื่อพื้น อาจเป็นส่วนของเนื้อเยื่อผิวหรือเนื้อเยื่อลำเลียง
    ส่วน Cortex เป็นเนื้อเยื่อพื้นที่อยู่นอกระบบท่อลำเลียง และเป็นอยู่ในพืชใบเลี้ยงคู่

    นาย วัชระพงษ์ ลิขิตรัตติวงศ์ ม.5/3เลขที่ 27

    ตอบลบ
  7. ความคิดเห็นนี้ถูกผู้เขียนลบ

    ตอบลบ
  8. ความคิดเห็นนี้ถูกผู้เขียนลบ

    ตอบลบ
  9. 1.กายวิภาควิทยาของรากใบเลี้ยงเดี่ยวกับใบเลี้ยงคู่แตกต่างกันอย่างไร
    กายวิภาควิทยาของรากพืชใบเลี้ยงเดี่ยวจะมีแฉกของเซลล์ไซเลม 4-5 แฉกแต่รากของพืชใบเลี้ยงคู่จะมีแฉกของไซเลม 4-6 แฉก และในรากพืชใบเลี้ยงเดี่ยวจะมีเซลล์โฟลเอมแทรกระหว่างแฉกของเซลล์ไซเลม และในรากพืชใบเลี้ยงคู่มีวาสคิวลาร์แคมเบียม และเมื่อพืชมีอายุมากขึ้นวาสคิวลาร์แคมเบียมจะแบ่งตัวให้วาสคิวลาร์บันเดิล กายวิภาควิทยาของรากใบเลี้ยงเดี่ยวกับใบเลี้ยงคู่จึงแตกต่างกัน

    2.สัณฐานวิทยากับกายวิภาควิทยาของพืชแตกต่างกันอย่างไร
    สัณฐานวิทยาของพืชคือโครงสร้างภายนอกของพืชแต่กายวิภาควิทยาของพืชคือโครงสร้างภายในของพืช สัณฐานวิทยากับกายวิภาควิทยาของพืชจึงแตกต่างกัน

    3.กายวิภาคของลำต้นใบเลี้ยงเดี่ยวและใบเลี้ยงคู่แตกต่างกันอย่างไร
    ต่างกันที่มัดท่อลำเลียงคือลำต้นใบเลี้ยงคู่มักเรียงเป็นลักษณะวงแต่ลำต้นใบเลี้ยงเดี่ยวมัดท่อลำเลียงจะรวมกันเป็นกลุ่มๆ

    4.เนื้อเยื่อพืชแบ่งออกเป็นกี่ระบบอะไรบ้าง
    เนื้อเยื่อของพืชแบ่งออกเป็น 3 ระบบ คือ
    เนื้อเยื่อชั้นผิว เนื้อเยื่อท่อลำเลียง เนื้อเยื่อพื้น

    5.Dermal tissue ต่างจาก epidermis อย่างไร
    Dermal tissue คือเนื้อเยื่อผิวพบเฉพาะการเจริญเติบโตระยะแรก epidermis เป็นเซลล์ชั้นที่อยู่นอกสุดเป็นเซลล์เพียงชนิดเดียวและปกคลุมอยู่ทุกส่วนของพืชพบทั้งการเจริญเติบโตระยะแรกและระยะที่สอง

    6.Ground tissue กับ cortex ต่างกันอย่างไร
    Ground tissue คือเนื้อเยื่อพื้นแต่ cortex เป็นชั้นของเนื้อเยื่อที่อยู่ระหว่าง epidermis กับ เนื้อเยื่อลำเลียง

    นายธนพงษ์ คุณชัยเกษม ม.5/3 เลขที่ 25

    ตอบลบ
  10. 1.ตอบ รากพืชใบเลี้ยงเดี่ยว ( monocot ) ทั่วไปจะไม่มี Secondary growth มีเซลล์ epidermis ทำหน้าที่โดยตลอด เซลล์ endodermis และ pericycle ชัดเจน มี xylem arch แบบ poly archไม่มี vascular cambiumไม่มี medullary ray Pith มีขนาดกว้าง

    รากพืชใบเลี้ยงคู่ ( dicot) )ทั่วไปจะมีSecondarygrowth มีPeriderm แบ่งเป็นชั้น cork, cork cambium,phelloderm ชั้น Cortex เห็นไม่ชัด Vascular tissue เห็นชั้น pericycle ไม่ค่อยชัด xylem มี 1 – 4 arch มี vascular cambium มี medullary ray เนื่องจากมี secondary growth Pithไม่มีหรือมีขนาดเล็ก

    2.ตอบ สัณฐานวิทยาคือการศึกษาภายนอกรูปร่างและโครงสร้างภายนอกของพืช เช่น การมองผ่านตา
    กายวิภาคคือการศึกษาภายในของพืชเช่นการผ่าเซลล์ของพืชแล้วบอกรายละเอียด

    3.ตอบ ลำต้นใบเลี้ยงเดี่ยว ประกอบด้วยชั้นเซลล์ผิว คอร์เท็กซ์และเนื้อเยื่อเซลล์ท่อลำเลียง กลุ่มเนื้อเยื่อท่อลำเลียงเรียงตัวกระจายอยู่ทั่วไปในคอร์เท็กซ์ ทำให้การแยกพื้นที่ระหว่างคอร์เท็กซ์และกลุ่มเซลล์ท่อ ลำเลียงไม่ชัดเจน เรียกการกระจายตัวของกลุ่มเซลล์ท่อเลียงชนิดนี้ว่า (scatter bundle) การเจริญของลำต้น พืชใบเลี้ยงเดี่ยวเป็นการเจริญแบบปฐมภูมิมีกลุ่มเซลล์ท่อลำเลียงเป็นแบบปิด (closed bundle) กลุ่มเซลล์ท่อ ลำเลียงชนิดนี้ไม่เกิดเซลล์ vascular cambium

    ลำต้นใบเลี้ยงคู่ การเจริญเติบโตในระยะปฐมภูมิโครงสร้างภายในประกอบด้วยชั้นเซลล์ผิว คอร์เท็กซ์ และกลุ่มท่อลำเลียงออกจากกันได้ชัดเจน ตรงกลางอาจมีไส้กลาง (pith) ต่อมามีการเจริญเติบโตแบบ ทุติยะภูมิเกิดขึ้นมาภายหลัง vascular bundle เป็นแบบ opened bundle เนื่องจากสามารถ ขยายขนาดโดยการแบ่งเซลล์ของ vascular cambium

    4.ตอบ 3 ระบบ
    1. ระบบเนื้อเยื่อผิว (Dermal system)
    2. ระบบเนื้อเยื่อพื้นฐาน ( หรือ ground system)
    3. ระบบเนื้อเยื่อลำเลียง (Vascular system)

    5. ตอบ dermal tissue ป้องกันเนื้อเยื่อพืชภายนอกแต่ epidermis เป็นเนื้อเยื่อที่อยู่ชั้นนอกสุด ทำหน้าที่ป้องกันอันตรายให้แก่เนื้อเยื่อภายในของลำต้น ส่วนใหญ่เซลล์เรียงตัวเพียงชั้นเดียว พืชบางชนิด epidermis มีการเปลี่ยนแปลงไปเป็นส่วนของ trichome / hair และ guard cell

    6.ตอบ Ground tissue เป็นหน่วยใหญ่ของ cortex ซึ่ง cortex แบ่งออกได้เป็น 1.Parenchyma 2. Collenchyma 3. Sclerenchyma 4.Endodermis (พบในรากเท่านั้น)
    สรุป Cortex เป็นหน่วยย่อยที่เจริญเติบโตจากGround tissue

    บุญพิทักษ์ อุทัยวิวัฒนา 5/3 10

    ตอบลบ
  11. 1)กายวิภาคของรากใบเลี้ยงเดี่ยวกับใบเลี้ยงคู่คือ รากใบเลี้ยงคู่จะมีไซเลมเป็นแฉก แต่ในส่วนของใบเลี้ยงเดี่ยวไซเลมจะกระจัดกระจายและมีพิธอยู่ตรงกลาง

    2)สัณฐานวิทยาของพืช หมายถึง การศึกษาโครงสร้างลักษณะภายนอกของพืช โดนใช้การสังเกตุ และ จัดจำแนกให้เป็นหมวดหมู่ แต่ กายวิภาควิทยาของพืชหมายถึง การศึกษาโครงสร้างลักษณะภายในของพืช

    3)กายวิภาคพืชใบเลี้ยงเดี่ยวชั้นกับกายวิภาคพืชใบเลี้ยงคู่ แตกต่างกันตรงที่ การมัดท่อลำเลียง พืชใบเลี้ยงเดี่ยวท่อลำเลียงจะกระจายอยู่ทั่วไปไม่เป็นระเบียบ ส่วนพืชใบเลี้ยงคู่ นั้นท่อลำเลียงจะจัดตัวกันเป็นระเบียบ

    4)เนื้อเยื่อพืชแบ่งได้ออกเป็น 3ระบบคือ
    -เนื้อเยื่อชั้นผิว (Epidermis)
    -เนื้อเยื่อท่อลำเลียง (Vascular tissue)
    -เนื้อเยื่อพื้น (ground tissue)

    5) dermal tissue คือเนื้อเยื่อผิวเฉพาะการเจริญเติบโตระยะแรก แต่epidermis นั้นเป็นเซลล์ชั้นนอกสุดเป็นเซลล์ชนิดเดียวและปกคลุมอยู่ทุกส่วนของพืชพบทั้งการเจริญเติบโตระยะแรกและสอง

    6)Ground tissueนั้นเป็นเนื้อเยื่อพื้น แต่ว่าcortexนั้น เป็นชั้นของเนื้อเยื่อที่อยู่ระหว่าง เนื้อเยื่อชั้นผิว กับ เนื้อเยื่อลำเลียง

    นราธิป วิไลเจริญตระกูล ม.5/3 เลขที่ 15

    ตอบลบ
  12. 1.) ตอบ : รากพืชใบเลี้ยงเดี่ยว ( monocot ) ทั่วไปจะไม่มี Secondary growth มีเซลล์ epidermis ทำหน้าที่โดยตลอด เซลล์ endodermis และ pericycle ชัดเจน มี xylem arch แบบ poly archไม่มี vascular cambiumไม่มี medullary ray Pith มีขนาดกว้าง
    รากพืชใบเลี้ยงคู่ ( dicot) )ทั่วไปจะมีSecondarygrowth มีPeriderm แบ่งเป็นชั้น cork, cork cambium,phelloderm ชั้น Cortex เห็นไม่ชัด Vascular tissue เห็นชั้น pericycle ไม่ค่อยชัด xylem มี 1 – 4 arch มี vascular cambium มี medullary ray เนื่องจากมี secondary growth Pithไม่มีหรือมีขนาดเล็ก

    2.) ตอบ : สัณฐานวิทยาคือการศึกษาภายนอกรูปร่างและโครงสร้างภายนอกของพืช เช่น การมองผ่านตา
    กายวิภาคคือการศึกษาภายในของพืชเช่นการผ่าเซลล์ของพืชแล้วบอกรายละเอียด

    3.) ตอบ : ลำต้นใบเลี้ยงเดี่ยว ประกอบด้วยชั้นเซลล์ผิว คอร์เท็กซ์และเนื้อเยื่อเซลล์ท่อลำเลียง กลุ่มเนื้อเยื่อท่อลำเลียงเรียงตัวกระจายอยู่ทั่วไปในคอร์เท็กซ์ ทำให้การแยกพื้นที่ระหว่างคอร์เท็กซ์และกลุ่มเซลล์ท่อ ลำเลียงไม่ชัดเจน เรียกการกระจายตัวของกลุ่มเซลล์ท่อเลียงชนิดนี้ว่า (scatter bundle) การเจริญของลำต้น พืชใบเลี้ยงเดี่ยวเป็นการเจริญแบบปฐมภูมิมีกลุ่มเซลล์ท่อลำเลียงเป็นแบบปิด (closed bundle) กลุ่มเซลล์ท่อ ลำเลียงชนิดนี้ไม่เกิดเซลล์ vascular cambium

    ลำต้นใบเลี้ยงคู่ การเจริญเติบโตในระยะปฐมภูมิโครงสร้างภายในประกอบด้วยชั้นเซลล์ผิว คอร์เท็กซ์ และกลุ่มท่อลำเลียงออกจากกันได้ชัดเจน ตรงกลางอาจมีไส้กลาง (pith) ต่อมามีการเจริญเติบโตแบบ ทุติยะภูมิเกิดขึ้นมาภายหลัง vascular bundle เป็นแบบ opened bundle เนื่องจากสามารถ ขยายขนาดโดยการแบ่งเซลล์ของ vascular cambium

    4.) ตอบ : มี3 ระบบ
    1. ระบบเนื้อเยื่อผิว (Dermal system)
    2. ระบบเนื้อเยื่อพื้นฐาน ( หรือ ground system)
    3. ระบบเนื้อเยื่อลำเลียง (Vascular system)

    5. ) ตอบ : dermal tissue ป้องกันเนื้อเยื่อพืชภายนอกแต่ epidermis เป็นเนื้อเยื่อที่อยู่ชั้นนอกสุด ทำหน้าที่ป้องกันอันตรายให้แก่เนื้อเยื่อภายในของลำต้น ส่วนใหญ่เซลล์เรียงตัวเพียงชั้นเดียว พืชบางชนิด epidermis มีการเปลี่ยนแปลงไปเป็นส่วนของ trichome / hair และ guard cell

    6.) ตอบ : Ground tissue เป็นหน่วยใหญ่ของ cortex ซึ่ง cortex แบ่งออกได้เป็น 1.Parenchyma 2. Collenchyma 3. Sclerenchyma 4.Endodermis (พบในรากเท่านั้น)
    สรุป Cortex เป็นหน่วยย่อยที่เจริญเติบโตจากGround tissue

    ธนเนตร์ ดวงแก้ว ม.5/3 เลขที่ 18

    ตอบลบ
  13. 1.)รากพืชใบเลี้ยงเดี่ยว ( monocot ) ทั่วไปจะไม่มี Secondary growth มีเซลล์ epidermis ทำหน้าที่โดยตลอด เซลล์ endodermis และ pericycle ชัดเจน มี xylem arch แบบ poly archไม่มี vascular cambiumไม่มี medullary ray Pith มีขนาดกว้าง
    รากพืชใบเลี้ยงคู่ ( dicot) )ทั่วไปจะมีSecondarygrowth มีPeriderm แบ่งเป็นชั้น cork, cork cambium,phelloderm ชั้น Cortex เห็นไม่ชัด Vascular tissue เห็นชั้น pericycle ไม่ค่อยชัด xylem มี 1 – 4 arch มี vascular cambium มี medullary ray เนื่องจากมี secondary growth Pithไม่มีหรือมีขนาดเล็ก

    2.) สัณฐานวิทยาคือการศึกษาภายนอกรูปร่างและโครงสร้างภายนอกของพืช เช่น การมองผ่านตา
    กายวิภาคคือการศึกษาภายในของพืชเช่นการผ่าเซลล์ของพืชแล้วบอกรายละเอียด

    3.) ลำต้นใบเลี้ยงเดี่ยว ประกอบด้วยชั้นเซลล์ผิว คอร์เท็กซ์และเนื้อเยื่อเซลล์ท่อลำเลียง กลุ่มเนื้อเยื่อท่อลำเลียงเรียงตัวกระจายอยู่ทั่วไปในคอร์เท็กซ์ ทำให้การแยกพื้นที่ระหว่างคอร์เท็กซ์และกลุ่มเซลล์ท่อ ลำเลียงไม่ชัดเจน เรียกการกระจายตัวของกลุ่มเซลล์ท่อเลียงชนิดนี้ว่า (scatter bundle) การเจริญของลำต้น พืชใบเลี้ยงเดี่ยวเป็นการเจริญแบบปฐมภูมิมีกลุ่มเซลล์ท่อลำเลียงเป็นแบบปิด (closed bundle) กลุ่มเซลล์ท่อ ลำเลียงชนิดนี้ไม่เกิดเซลล์ vascular cambium
    ลำต้นใบเลี้ยงคู่ การเจริญเติบโตในระยะปฐมภูมิโครงสร้างภายในประกอบด้วยชั้นเซลล์ผิว คอร์เท็กซ์ และกลุ่มท่อลำเลียงออกจากกันได้ชัดเจน ตรงกลางอาจมีไส้กลาง (pith) ต่อมามีการเจริญเติบโตแบบ ทุติยะภูมิเกิดขึ้นมาภายหลัง vascular bundle เป็นแบบ opened bundle เนื่องจากสามารถ ขยายขนาดโดยการแบ่งเซลล์ของ vascular cambium

    4.) มี3 ระบบ
    1. ระบบเนื้อเยื่อผิว (Dermal system)
    2. ระบบเนื้อเยื่อพื้นฐาน ( หรือ ground system)
    3. ระบบเนื้อเยื่อลำเลียง (Vascular system)

    5.) dermal tissue ป้องกันเนื้อเยื่อพืชภายนอกแต่ epidermis เป็นเนื้อเยื่อที่อยู่ชั้นนอกสุด ทำหน้าที่ป้องกันอันตรายให้แก่เนื้อเยื่อภายในของลำต้น ส่วนใหญ่เซลล์เรียงตัวเพียงชั้นเดียว พืชบางชนิด epidermis มีการเปลี่ยนแปลงไปเป็นส่วนของ trichome / hair และ guard cell

    6.) Ground tissue เป็นหน่วยใหญ่ของ cortex ซึ่ง cortex แบ่งออกได้เป็น 1.Parenchyma 2. Collenchyma 3. Sclerenchyma 4.Endodermis (พบในรากเท่านั้น)
    สรุป Cortex เป็นหน่วยย่อยที่เจริญเติบโตจากGround tissue

    นาย ธนวินท์ แฉ่งสวัสดิ์ ชั้น ม.5/3 เลขที่ 47

    ตอบลบ
  14. ไม่ระบุชื่อ1 ธันวาคม 2553 เวลา 05:48

    1. กายวิภาควิทยาของพืชใบเลี้ยงเดี่ยว คือ จะมีท่อลำเลียงน้ำมากกว่า 5 แฉก ไม่มีVascular cambium มองเห็นEndodermisชัดเจน และตรงกลางเป็นPith
    ส่วน กายวิภาควิทยาของพืชใบเลี้ยงคู่ คือ จะมีท่อลำเลียงน้ำเป็นแฉก 2-5 แฉก มีVascular cambium มองเห็นEndodermisไม่ชัดเจน และตรงกลางเป็นXylemทั้งหมด
    2. สัญฐานวิทยาคือจะศึกษาเกี่ยวกับ ลักษณะและโครงสร้างนายในของพืช
    ส่วน กายวิภาควิทยา คือจะศึกษาเกี๋ยวกับ ลักษณะและโครงสร้างภายนอกของพืช(ที่มองเห็นด้วยตาเปล่า)
    3. กายวิภาคของลำต้นใบเลี้ยงเดี่ยว จะมัดท่อปลายกระจัดกระจายไม่เป็นระเบียบทั่วๆ ส่วนใหญ่ไม่มีแคมเบียม และ ไม่มีการเจริญด้านข้าง
    ส่วน กายวิภาคของลำต้นใบเลี้ยงคู่ จะมัดท่อเลียงเรียงเป็นวงเป็นระเบียบ และ มีแคมเบียม และ การเจริญด้านข้าง
    4.เนื้อเยื่อพืชสามารถแบ่งได้ ตามลักษณะและความสามารถในการเจริญได้เป็น 2 ประเภทคือ
    4.1 เนื้อเยื่อเจริญ(Meristem) สามารถแบ่งได้เป็น 3 ชนิดคือ
    4.1.1 เนื้อเยื่อเจริญส่วนปลาย(Apical meristem)
    4.1.2 เนื้อเยื่อเจริญเหนือข้อ(Intercalary meristem)
    4.1.3 เนื้อเยื่อเจริญด้านข้าง(Lateral meristem)
    4.2 เนื้อเยื่อถาวร(Permanent tissue) สามารถแบ่งได้เป็น 2 ชนิดคือ
    4.2.1 เนื้อเยื่อถาวรเชิงเดี่ยว(Simple permanent tissue)ประกอบด้วยเนื้อเยื่อ 2 ประเภทคือ
    4.2.1.1 Epidermis
    4.2.1.2 Cork or Phelloderm
    4.2.2 เนื้อเยื่อพื้น(Ground tissue)ประกอบด้วยเนื้อเยื่อ 4 ชนิดคือ
    4.2.2.1 Parenchyma
    4.2.2.2 Collenchyma
    4.2.2.3 Sclerenchyma
    4.2.2.4 Endodermis(พบเฉพาะในราก)

    5. Dermal tissue จะประกอบด้วย epidermis และ periderm
    6. Ground tissue เป็นเนื้อเยื่อทั่วไปที่เป็นองค์ประกอบในราก ลำต้น และใบซึ่งประกอบด้วยเนื้อเยื่อหลายชนิด และอยู่รวมกันเป็นชั้นเรียกว่า Cortex

    นายชัยพร เหลืองสดุดี ม.5/3 เลขที่ 8

    ตอบลบ
  15. 1. รากพืชใบเลี้ยงเดียวจะมีแฉกของ xylem 4-5แฉกและมี pholem แทรกระหว่างแฉกของ xylem แต่ ในรากพืชใบเลี้ยงคู่จะมี xylem 4-6 แฉกและมี vascular cambium และเมื่อพืชมีอายุมาก vascular cambium จะแบ่งตัวให vascular bundle

    2. สัณฐานวิทยา คือการศึกษาโครงสร้างภายนอกของพืช แต่กายวิภาควิทยาคือการศึกษาโครงสร้างภายในของพืชที่มองไม่เห็นจากภายนอก

    3. ลำต้นขอพืชใบเลี้ยงเดียวประกอบ cortex และเนื้อเยื่อเซลล์ท่อลำเลียง ซึ่งเนื้อเยื่อเซลล์ท่อลำเลียง จะกระจายทั่ว cortex ทำให้แยกพื้นที่ไม่ชัดเจน และกลุ่มท่อลำเลียงนี้จะไม่เกิด vascular cambium แต่ ลำต้นของพืชใบเลี้ยงคู่ในระยะแรกจะมีcortexและกลุ่มท่อลำเลียงแต่สามารถแยกออกจากกันได้ชัดเจน ตรงกลางอาจมี pith และเมื่อเจริญมาในระยะ สอง vascular bundle จะเป็นแบบเปิดเพราะมีการแบ่งเซลล์ของ vascular cambium

    4. มี 3 ระบบ 4.1 ระบบเนื้อเยื่อผิว 4.2 ระบบเนื้อเยื่อท่อลำเลียง 4.3 ระบบเนื้อเยื่อพื้นฐาน

    5. Dermal tissue ป้องกันเนื้อเยื่อพืชภายนอก แต่ Epidermis เป็นเนื้อเยื่อที่อยู่นอกสุด ป้องกันอันตรายให้เนื้อเยื่อชั้นใน

    6. Ground tissue เป็นเยื่อทั่วไป แต่ว่า cortex เป็นชั้นของเนื้อเยื่อที่อยู่ระหว่างเนื้อเยื่อชั้นผิวกับเนื้อเยื่อลำเลียง

    ธนกร สันติธรรมากร ม.5/3 เลขที่ 39

    ตอบลบ
  16. 1.รากพืชใบเลี้ยงเดี่ยว ( monocot ) ทั่วไปจะไม่มี Secondary growth มีเซลล์ epidermis ทำหน้าที่โดยตลอด เซลล์ endodermis และ pericycle ชัดเจน มี xylem arch แบบ poly archไม่มี vascular cambiumไม่มี medullary ray Pith มีขนาดกว้าง
    รากพืชใบเลี้ยงคู่ ( dicot) )ทั่วไปจะมีSecondarygrowth มีPeriderm แบ่งเป็นชั้น cork, cork cambium,phelloderm ชั้น Cortex เห็นไม่ชัด Vascular tissue เห็นชั้น pericycle ไม่ค่อยชัด xylem มี 1 – 4 arch มี vascular cambium มี medullary ray เนื่องจากมี secondary growth Pithไม่มีหรือมีขนาดเล็ก

    2.สัณฐานวิทยาคือการศึกษาภายนอกรูปร่างและโครงสร้างภายนอกของพืช เช่น การมองผ่านตา
    กายวิภาคคือการศึกษาภายในของพืชเช่นการผ่าเซลล์ของพืชแล้วบอกรายละเอียด

    3.ลำต้นใบเลี้ยงเดี่ยว ประกอบด้วยชั้นเซลล์ผิว คอร์เท็กซ์และเนื้อเยื่อเซลล์ท่อลำเลียง กลุ่มเนื้อเยื่อท่อลำเลียงเรียงตัวกระจายอยู่ทั่วไปในคอร์เท็กซ์ ทำให้การแยกพื้นที่ระหว่างคอร์เท็กซ์และกลุ่มเซลล์ท่อ ลำเลียงไม่ชัดเจน เรียกการกระจายตัวของกลุ่มเซลล์ท่อเลียงชนิดนี้ว่า (scatter bundle) การเจริญของลำต้น พืชใบเลี้ยงเดี่ยวเป็นการเจริญแบบปฐมภูมิมีกลุ่มเซลล์ท่อลำเลียงเป็นแบบปิด (closed bundle) กลุ่มเซลล์ท่อ ลำเลียงชนิดนี้ไม่เกิดเซลล์ vascular cambium

    ลำต้นใบเลี้ยงคู่ การเจริญเติบโตในระยะปฐมภูมิโครงสร้างภายในประกอบด้วยชั้นเซลล์ผิว คอร์เท็กซ์ และกลุ่มท่อลำเลียงออกจากกันได้ชัดเจน ตรงกลางอาจมีไส้กลาง (pith) ต่อมามีการเจริญเติบโตแบบ ทุติยะภูมิเกิดขึ้นมาภายหลัง vascular bundle เป็นแบบ opened bundle เนื่องจากสามารถ ขยายขนาดโดยการแบ่งเซลล์ของ vascular cambium

    4.มี3 ระบบ
    1 ระบบเนื้อเยื่อผิว (Dermal system)
    2 ระบบเนื้อเยื่อพื้นฐาน ( หรือ ground system)
    3 ระบบเนื้อเยื่อลำเลียง (Vascular system)

    5.dermal tissue ป้องกันเนื้อเยื่อพืชภายนอกแต่ epidermis เป็นเนื้อเยื่อที่อยู่ชั้นนอกสุด ทำหน้าที่ป้องกันอันตรายให้แก่เนื้อเยื่อภายในของลำต้น ส่วนใหญ่เซลล์เรียงตัวเพียงชั้นเดียว พืชบางชนิด epidermis มีการเปลี่ยนแปลงไปเป็นส่วนของ trichome / hair และ guard cell

    6.Ground tissue เป็นหน่วยใหญ่ของ cortex ซึ่ง cortex แบ่งออกได้เป็น 1.Parenchyma 2. Collenchyma 3. Sclerenchyma 4.Endodermis (พบในรากเท่านั้น)
    สรุป Cortex เป็นหน่วยย่อยที่เจริญเติบโตจากGround tissue

    กฤษฎา อัครล้ำเลิศวงศ์ ม.5/3 เลขที่ 41

    ตอบลบ
  17. ความคิดเห็นนี้ถูกผู้เขียนลบ

    ตอบลบ
  18. ไม่ระบุชื่อ1 ธันวาคม 2553 เวลา 06:11

    เนื้อเยื้อถาวรเชิงเดียว คือ เนื้อเยื้อที่ประกอบด้วยเซลล์ชนิดเดียวกันหลายๆเซลล์ เช่น Epidermis

    เนื้อเยื้อถาวรเชิงซ้อน คือ เนื้อเยื้อที่ประกอบด้วยเซลล์ต่างชนิดกันหลายๆเซลล์ เช่น Xylum และ Phloem

    นาย ฐิติพงศ์ โกศลจันทรยนต์ ม.5 ห้อง 3 เลขทีี่ 32

    ตอบลบ
  19. 1.กายวิภาควิทยาของรากใบเลี้ยงเดี่ยวกับใบเลี้ยงคู่แตกต่างกันอย่างไร
    -พืชใบเลี้ยงคู่จะมีประมาณ 4-5แฉก และจะมีXylemอยู่ตรงกลางทั้งหมด ส่วนพืชใบเลี่ยงเดี่ยวจะมีแฉกอยู่หลายแฉก และจะมีPithอยู่ตรงกลาง

    2.สัณฐานวิทยากับกายวิภาควิทยาของพืชแตกต่างกันอย่างไร
    - สัณฐานวิทยาเป็นการศึกษาลักษณะ รูปร่าง ภายนอกของพืชแต่กายวิภาควิทยาเป็นการศึกษาส่วนภายในของพืช

    3.กายวิภาคของลำต้นใบเลี้ยงเดี่ยวและใบเลี้ยงคู่แตกต่างกันอย่างไร
    - ในพืชใบเลี่ยงคู่ท่อลำเลียงจะกระจายอยู่เป็นวงๆ โดนXylemอยู่ด้านในPhloemอยู่ด้านนอก ส่วนในพืชใบเลี่ยงเดี่ยวท่อลำเลียงจะอยู่ไม่เป็นระเบียบอยู่ใน Ground Tissue

    4.เนื้อเยื่อพืชแบ่งออกเป็นกี่ระบบอะไรบ้าง
    -เนื้อเยื่อพืชแบ่งออกเป็นระบบแบ่งเป็น 3 ระบบ ได้แก่
    - Ground Tissue ระบบเนื้อเยื่อพื้น
    -Dermal tissue (เนื้อเยื่อบุผิว)
    -Vascular tissue (เนื้อเยื่อลำเลียง)

    5.Dermal tissue ต่างจาก epidermis อย่างไร
    - Epidermis เป็นส่วนย่อยของ Dermal Tissue

    6.Ground tissue กับ cortex ต่างกันอย่างไร
    - Ground tissue ประกอบด้วยเนื้อเยื่อหลายชนิดจะเรียกว่าCortex

    เจตนา ธนาสุทธิเสรี ม.5/3 เลขที่ 23

    ตอบลบ
  20. 1.กายวิภาควิทยาของรากใบเลี้ยงเดี่ยวกับใบเลี้ยงคู่แตกต่างกันอย่างไร

    ---กายวิภาควิทยาของรากพืชใบเลี้ยงเดี่ยวมันจะมีแฉกของเซลล์ไซเลม 4-5แฉก
    แต่รากของพืชใบเลี้ยงคู่จะมีแฉกของไซเลม 4-6 แฉก
    และในรากพืชใบเลี้ยงเดี่ยวจะมีเซลล์โฟลเอมแทรกระหว่างแฉกของเซลล์ไซเลม
    แต่ในรากพืชใบเลี้ยงคู่มีวาสคิวลาร์แคมเบียม และเมื่อพืชมี
    อายุมากขึ้นวาสคิวลาร์แคมเบียมจะแบ่งตัว
    ให้วาสคิวลาร์บันเดิล

    2.สัณฐานวิทยากับกายวิภาควิทยาของพืชแตกต่างกันอย่างไร

    ---สัณฐาน วิทยาของพืชคือการศึกษาลักษณะโครงสร้างภายนอกของพืช เช่น การศึกษาต้นพลูด่างดูโครงสร้างภายของ ลำต้น ใบ และราก ว่าเป็นประเภทใด ส่วน กายวิภาคของพืชคือ การศึกษาโครงสร้างต่างๆ ภายในที่ไม่สามารถมองจากภายนอกได้ เช่นการผ่าแล้วดูเซลล์ภายใน ของพืช

    3.กายวิภาคของลำต้นใบเลี้ยงเดี่ยวและใบเลี้ยงคู่แตกต่างกันอย่างไร

    ---ลำต้นพืชใบเลี้ยงเดี่ยว
    1.ข้อปล้องไม่ชัดเจน
    2.Vascular bundle เรียงตัวกันเป็นระเบียบ
    3.มีvascular cambium4.มีsecondary growth
    5.มีannual ring
    6.xylem และ phloem ทำงานได้ไม่นาน
    ---ลำต้นพืชใบเลี้ยงคู่
    1.มีข้อปล้องชัดเจน
    2.Vascular bundle เรียงตัวกันไม่เป็นระเบียบ
    3.ไม่มีvascular cambium
    4.ไม่มีsecondary growth
    5.ไม่มีannual ring
    6.xylem และ phloem ทำงานได้นาน

    4.เนื้อเยื่อพืชแบ่งออกเป็นกี่ระบบอะไรบ้าง

    ---เนื้อเยื่อพืชแบ่งออกเป็น3ระบบแบ่งเป็น
    1.เนื้อเยื่อพื้น (ground tissue)เป็นกลุ่มของเซลล์ที่รวมตัวกันอยู่พื้นผิวภายนอกของใบไม้และพืชที่มีอายุไม่มาก
    2.เนื้อ เยื่อท่อลำเลียง(Vascular tissue)หลักที่สำคัญของพืชคือ ไซเล็ม (xylem) และ โฟลเอ็ม (phloem) ทำหน้าที่ขนส่งน้ำ สารละลาย และสารอาหารภายในต้นพืช
    3.เนื้อเยื่อชั้นผิว(Epidermis) เป็นกลุ่มของเซลล์ที่รวมตัวกันอยู่พื้นผิวภายนอกของใบไม้และพืชที่มีอายุไม่มาก

    5.Dermal tissue ต่างจาก epidermis อย่างไร

    ---Dermal tissue คือเนื้อเยื่อพื้นพบเฉพาะการเจริญเติบโตระยะแรก epidermis เป็นเซลล์ชั้นที่อยู่นอกสุดเป็นเซลล์เพียงชนิดเดียวและปกคลุมอยู่ทุกส่วนของ พืชพบทั้งการเจริญเติบโตระยะแรกและระยะที่สอง

    6.Ground tissue กับ cortex ต่างกันอย่างไร

    ---Ground tissue เนื้อเยื่อพื้น อาจเป็นส่วนของเนื้อเยื่อผิวหรือเนื้อเยื่อลำเลียง
    --- Cortex เป็นเนื้อเยื่อพื้นที่อยู่นอกระบบท่อลำเลียง และเป็นอยู่ในพืชใบเลี้ยงคู่

    ธีรเดช ศรีธิมาสถาพร ม5/3 เลขที่30

    >>>>>Bankbaka<<<<<

    ตอบลบ
  21. เชิงเดี่ยวกับเชิงซ้อนให้ไปโพสอีกอันสิครับ

    ตอบลบ
  22. ใครโพส แล้วไม่ลงชื่อ ถือว่าผิด
    ชื่อ........นามสกุล....ชั้น...เลขที่......
    เจทำงานดีมาก

    ตอบลบ
  23. คำตอบครั้งที่สอง ข้อ 1-6
    1.กายวิภาคของรากใบเลี้ยงเดี่ยว คือ ในบริเวณรากท่อลำเลียงจะเรียงต่อเป็นวงกลมรอบส่วนที่เป็น Parenchyma หรือเรียกว่า Pith รากใบเลี้ยงเดี่ยวจะเรียกว่ารากแก้ว หรือรากปฐมภูมิ
    กายวิภาคของรากใบเลี้ยงคู่ จะไม่มี Parenchyma หรือเรียกว่า Pith ตรงกลางเป็น Xylem เรียงตัวออกมาเป็นแฉก และมี Phloem อยู่ระหว่างแฉก
    2. สัณฐานวิทยาจะชี้ให้เห็นถึงส่วนประกอบของอวัยวะพืช เช่น ราก ก็จะมีหมวกราก ส่วนกายวิภาควิทยาจะแสดงถึงลักษณะส่วนประกอบของต้นไม้ เช่น ใบไม้ ซึ่งจะมีใบเลี้ยงคู่ และใบเลี้ยงเดี่ยว
    3.กายวิภาควิทยาของพืชใบเลี้ยงเดี่ยว คือ
    1) epidermis เป็นเนื้อเยื่อที่อยู่ชั้นนอกสุด
    2) cortex มีเนื้อเยื่อบางๆ
    3) มีstele ซึ่งประกอบด้วย vascular bundle เป็นเยื้อลำเลียง ที่มี Xylem และ Phloem เป็นเนื้อเยื้อที่อยู่ตรงกลาง
    กายวิภาควิทยาของพืชใบเลี้ยงคู่
    1) epidermis เป็นเนื้อเยื่อที่อยู่ชั้นนอกสุด
    2) cortex เป็นชั้นของลำต้นที่มีอาณาเขตตั้งแต่ใต้ epidermis
    2.1) parenchyma เป็นเนื้อเยื่อส่วนใหญ่ที่พบภายในลำต้น
    2.2) chlorenchyma ทำหน้าที่ในกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
    2.3) aerenchyma ทำหน้าที่การสะสมอากาศ
    2.4) collenchyma เพิ่มความแข็งแรงให้แก่ลำต้น
    2.5) sclerenchyma ให้ความแข็งแรงแก่ลำต้น เนื่องจากมีผนังฌซลล์ที่หนามาก
    3) stele ประกอบด้วย
    3.1) vascular bundle กลุ่มของเนื้อเยื่อที่ทำหน้าที่เกี่ยวข้องกับการลำเลียงน้ำและแร่ธาตุ
    3.2) pith เป็นเนื้อเยื่อที่อยู่ส่วนกลางของลำต้น หรือเป็นไส้อ่อนของพืชบางชนิด ทำหน้าที่สะสมสาร

    4. ระบบของเนื้อเยื้อพืช จำแนกได้เป็น 3 ระบบดังนี้
    1)ระบบเนื้อเยื่อห่อหุ้ม เป็นเนื้อเยื่อที่อยู่ด้านนอกสุดของพืช ทำหน้าที่ปกคลุมส่วนอื่นๆ ประกอบด้วย
    1.1) epidermis
    1.2) periderm
    2) ระบบเนื้อเยื่อท่อลำเลียง ทำหน้าที่ลำเลียงน้ำ สารอาหาร และแร่ธาตุต่างๆ ซึ่งประกอบด้วย
    2.1) xylem ทำหน้าที่ลำเลียงน้ำ และแร่ธาต
    2.2) phloem ทำหน้าที่ลำเลียงอาหาร
    3) เนื้อเยื่อพื้น (ground tissue) เป็นเนื้อเยื้อที่พัฒนามาจากการเปลี่ยนแปลงของเนื้อเยื้อต่างๆ
    ซึ่งทำหน้าที่สังเคราะห์แสงและเก็บสะสมสารอาหารไว้ในราก ซึ่งเรียกว่า รากสะสมอาหาร และเป็น modify root ชนิดหนึ่ง

    5. Epidermis คือ เป็นเนื้อเยื่อที่อยู่ชั้นนอกสุด ทำหน้าที่ป้องกันอันตรายให้แก่เนื้อเยื่อภายในของลำต้น ส่วนใหญ่เซลล์เรียงตัวเพียงชั้นเดียว พืชบางชนิด epidermis มีการเปลี่ยนแปลงไปเป็นส่วนของ trichome / hair และ guard cell ในต้นพืชที่อายุมากส่วนใหญ่แล้วส่วนของ epidermis จะหลุดหายไปเพราะถูกแทนที่ด้วยส่วนของคอร์ก
    Dermal tissue เป็นเนื้อเยื่อชั้นผิว ทำหน้าที่เป็น เนื้อเยื่อป้องกันเป็นชั้นเซลล์ที่ปกคลุมผิวนอกสุดของโครงสร้างต่างๆ ของพืช คือ ใบ ดอก ผล เรียงตัวเพียงชั้นเดียว ได้แก่
    cutin - ลักษณะคล้ายขี้ผึ้งน้ำซึมผ่านไม่ได้
    guard cell - เซลล์คุม ทำหน้าที่เปิดปิด ช่องปากใบ(stomata)
    hair หรือ trichome - เซลล์ขน
    glandular cell – เซลล์ต่อมสร้างสาร

    6. Ground tissue เป็นเนื้อเยื้อที่เจริญมาจาก ground meristem กลายเป็นเนื้อเยื้อลำเลียง
    Cortex เป็นเนื้อเยื้อที่อยู่บริเวณนอกระบบท่อลำเลียง
    นายพศวีร์ บรรจงกูล ม.5/3 เลขที่ 40

    ตอบลบ
  24. คำถามชุดที่ 1
    เนื้อเยื่อถาวรเชิงเดี่ยว เป็นเนื้อเยื่อที่เกิดจากเซลล์ถาวรชนิดเดียวกันมาอยู่ร่วมกันและทำหน้าที่ร่วมกันมีหลายชนิด ได้แก่ เอพิเดอร์มิส(Epidermis) พาเรงคิมา(Parenchyma) คอลเลงคิมา(Collenchyma) สเกลอเรงคิมา (Sclerenchyma) เอนโดเดอร์มิส(Endodermis)และ คอร์ก (Cork)
    เนื้อเยื่อถาวรเชิงซ้อน เกิดจากเซลล์หลายชนิดมาอยู่รวมกันและทำหน้าที่เดียวกัน ได้แก่ เนื้อเยื่อลำเลียง (Vascular bundle) ประกอบด้วย
    เนื้อลำเลียงน้ำและแร่ธาตุ (Xylem) และเนื้อเยื่อลำเลียงอาหาร (Phloem)
    นายพศวีร์ บรรจงกูล ม.5/3 เลขที่ 40

    ตอบลบ
  25. 1. กายวิภาควิทยาของรากใบเลี้ยงเดี่ยวกับใบเลี้ยงคู่แตกต่างกันอย่างไร
    ตอบ รากพืชใบเลี้ยงเดี่ยวจะมีไซเลมและโฟลเอมจำนวน 1-6 แฉก
    รากพืชใบเลี้ยงคู่จะมีไซเลมและโฟลเอมจำนวนมากกว่า6แฉก


    2. สัณฐานวิทยากับกายวิภาควิทยาของพืชแตกต่างกันอย่างไร
    ตอบ สัณฐานวิทยาของพืช หมายถึง เกี่ยวกับโครงสร้างภายนอก
    ส่วนกายวิภาควิทยาของพืช



    นาย พีรเดช กตัญญูวงศ์เจริญ ม.5/5 เลขที่ 21

    ตอบลบ
  26. ความคิดเห็นนี้ถูกผู้เขียนลบ

    ตอบลบ
  27. 1.-ตอบ รากพืชใบเลี้ยงเดี่ยว ( monocot ) ทั่วไปจะไม่มี Secondary growth มีเซลล์ epidermis ทำหน้าที่โดยตลอด เซลล์ endodermis และ pericycle ชัดเจน มี xylem arch แบบ poly archไม่มี vascular cambiumไม่มี medullary ray Pith มีขนาดกว้าง

    รากพืชใบเลี้ยงคู่ ( dicot) )ทั่วไปจะมีSecondarygrowth มีPeriderm แบ่งเป็นชั้น cork, cork cambium,phelloderm ชั้น Cortex เห็นไม่ชัด Vascular tissue เห็นชั้น pericycle ไม่ค่อยชัด xylem มี 1 – 4 arch มี vascular cambium มี medullary ray เนื่องจากมี secondary growth Pithไม่มีหรือมีขนาดเล็ก

    2.-ตอบ สัณฐานวิทยาคือการศึกษาภายนอกรูปร่างและโครงสร้างภายนอกของพืช เช่น การมองผ่านตา
    กายวิภาคคือการศึกษาภายในของพืชเช่นการผ่าเซลล์ของพืชแล้วบอกรายละเอียด

    3.-ตอบ ลำต้นใบเลี้ยงเดี่ยว ประกอบด้วยชั้นเซลล์ผิว คอร์เท็กซ์และเนื้อเยื่อเซลล์ท่อลำเลียง กลุ่มเนื้อเยื่อท่อลำเลียงเรียงตัวกระจายอยู่ทั่วไปในคอร์เท็กซ์ ทำให้การแยกพื้นที่ระหว่างคอร์เท็กซ์และกลุ่มเซลล์ท่อ ลำเลียงไม่ชัดเจน เรียกการกระจายตัวของกลุ่มเซลล์ท่อเลียงชนิดนี้ว่า (scatter bundle) การเจริญของลำต้น พืชใบเลี้ยงเดี่ยวเป็นการเจริญแบบปฐมภูมิมีกลุ่มเซลล์ท่อลำเลียงเป็นแบบปิด (closed bundle) กลุ่มเซลล์ท่อ ลำเลียงชนิดนี้ไม่เกิดเซลล์ vascular cambium

    ลำต้นใบเลี้ยงคู่ การเจริญเติบโตในระยะปฐมภูมิโครงสร้างภายในประกอบด้วยชั้นเซลล์ผิว คอร์เท็กซ์ และกลุ่มท่อลำเลียงออกจากกันได้ชัดเจน ตรงกลางอาจมีไส้กลาง (pith) ต่อมามีการเจริญเติบโตแบบ ทุติยะภูมิเกิดขึ้นมาภายหลัง vascular bundle เป็นแบบ opened bundle เนื่องจากสามารถ ขยายขนาดโดยการแบ่งเซลล์ของ vascular cambium

    4.-ตอบ 3 ระบบ
    1. ระบบเนื้อเยื่อผิว
    2. ระบบเนื้อเยื่อพื้นฐาน
    3. ระบบเนื้อเยื่อลำเลียง

    5. -ตอบ dermal tissue ป้องกันเนื้อเยื่อพืชภายนอกแต่ epidermis เป็นเนื้อเยื่อที่อยู่ชั้นนอกสุด ทำหน้าที่ป้องกันอันตรายให้แก่เนื้อเยื่อภายในของลำต้น ส่วนใหญ่เซลล์เรียงตัวเพียงชั้นเดียว พืชบางชนิด epidermis มีการเปลี่ยนแปลงไปเป็นส่วนของ trichome / hair และ guard cell

    6.-ตอบ Ground tissue เป็นหน่วยใหญ่ของ cortex ซึ่ง cortex แบ่งออกได้เป็น 1.Parenchyma 2. Collenchyma 3. Sclerenchyma 4.Endodermis (พบในรากเท่านั้น)

    โชติวัฒน์ แสงศรี ม.5/3 เลขที่ 13

    ตอบลบ
  28. 1.กายวิภาควิทยาของรากใบเลี้ยงเดี่ยวกับใบเลี้ยงคู่แตกต่างกันอย่างไร
    - วาสคูลาร์บันเดิล(vascular bundle) ในรากจะมีการเรียงตัวกันมีลักษณะเป็นแฉก โดยรากพืชใบเลี้ยงคู่นั้นจะพบ 4-6 แฉก และมีชื่อเรียกเฉพาะต่างกันตามจำนวนแฉกเช่น ถ้ามี 4 แฉก ก็จะเรียกว่า tetra arch ส่วนในพืชใบเลี้ยงเดี่ยวนั้นจะมีจำนวนแฉกมากมายเรียกว่า polyarch
    - พิธ(pith) ในรากพืชใบเลี้ยงเดี่ยวตรงกลางจะเป็นเนื่อยพาเรนไคมา(parenchyma) แต่ถ้าเป็นรากใบเลี้ยงคู่ส่วนของพิธจะเป็น ไซเรม(xylem)

    2.สัณฐานวิทยากับกายวิภาควิทยาของพืชแตกต่างกันอย่างไร
    - สัณฐานวิทยาเป็นการศึกษารูปร่างลักษณะภายนอกของพืช ส่วนกายวิภาควิทยาจะเป็นการศึกษาภายในของพืช

    3.กายวิภาคของลำต้นใบเลี้ยงเดี่ยวและใบเลี้ยงคู่แตกต่างกันอย่างไร
    - แตกต่างกันที่การเรียงตัวของ vascular system
    การเรียงตัวของ vascular system ของพืชใบเลียงคู่
    vascular bundle เป็นแบบ open bundle มี vascular cambium เกิดขึ้นภายหลังการเจริญเติบโต ของลำต้นในระยะ primary growth มี vascular bundle เป็นกลุ่มเรียงตัวกันเป็นระเบียบ ( ordered )ในลำต้นที่เจริญมาก กลุ่มท่อลำเรียงจะมีเนื้อเยื่อพวก sclerenchyma ล้อมรอบ ผนังหนาเห็นชัดเจน เรียก bundle sheath

    การเรียงตัวของ vascular system ของพืชใบเลี้ยงเดี่ยว
    vascular bundle เป็นแบบ close bundle ไม่มีเซลล์ vascular cambium เกิดขึ้น vascular bundle เรียงตัวกระจัดกระจายไม่เป็นระเบียบ

    4.เนื้อเยื่อพืชแบ่งออกเป็นกี่ระบบ อะไรบ้าง
    - แบ่งออกเป็น 3 ระบบ คือ
    4.1. เนื้อเยื่อพื้น(Ground tissue)
    4.2.เนื้อเยื่อบุผิว(Dermal tissue)
    4.3.เนื้อเยื่อลำเลียง(Vascular tissue)

    5.Dermal tissue ต่างจาก epidermis อย่างไร
    - epidermis เป็นส่วนย่อยส่วนหนึ่งของ Dermal tissue

    6.Ground tissue กับ cortex ต่างกันอย่างไร
    -เนื้อเยื่อพื้น (ground tissue) เป็นเนื้อเยื่อที่พัฒนาเปลี่ยนแปลงไปเป็นเนื้อเยื่ออื่นๆ น้อยที่สุด และเป็นเนื้อเยื่อที่มีต้นกำเนิดมาจาก Ground meristem โดยประกอบไปด้วยเนื้อเยื่อหลายชนิดมาอยู่รวมกันเรียกว่า Cortex
    ซึ่งจะอธิบายได้ว่า cortex เป็นส่วนย่อยส่วนหนึ่งของ Ground tissue

    นาย เนติธร หนุนวงษา ม.5/3 เลขที่ 42

    ตอบลบ
  29. รีบส่งกันด่วนๆนะ หลัง 22.30 น. จะไม่รับแล้วนะครับ

    ตอบลบ
  30. ความคิดเห็นนี้ถูกผู้เขียนลบ

    ตอบลบ
  31. ช่วงนี้เกิดปัญหา โพสต์แล้วเออเร่อบ้าง หรือปัญหาอื่นๆเมื่อโพสต์เสร็จลองออกจากบล๊อกแล้วเข้ามาดูใหม่อีกทีว่าที่โพสต์ไปยังอยู่หรือเปล่า หรือถ้าไม่แน่ใจ กรุณามาถามทางเอ็มหรือโทรมาได้ และถ้าโพสไม่ได้เลยให้เขียนลงกระดาษมาส่งภายในพรุ่งนี้เช้าจะีดีกว่านะครับ

    ด้วยความปรารถนาดี

    ตอบลบ
  32. เราทำมาตั้งเเต่วันเเรกอ่ะ มันเออเร่อตั้งเเต่ที่สั่งเลย
    ตอนเเรกส่งไป มันขึ้นเป็นคนเเรกที่ส่ง เลยลืมดู ดีที่เเชมป์มาถามว่าตอบยังไง มันเลยบอกว่าเรายังไม่ได้ส่ง กว่าจะส่งได้ ล่อซะ 3 วันเลย เซงจริงๆ

    ตอบลบ
  33. 1.กายวิภาควิทยาของรากใบเลี้ยงเดี่ยวกับใบเลี้ยงคู่แตกต่างกันอย่างไร

    - รากพืชใบเลี้ยงเดียวจะมีแฉกของ xylem 4-5แฉกและมี pholem แทรกระหว่างแฉกของ xylem แต่ ในรากพืชใบเลี้ยงคู่จะมี xylem 4-6 แฉกและมี vascular cambium และเมื่อพืชมีอายุมาก vascular cambium จะแบ่งตัวให vascular bundle

    2.สัณฐานวิทยากับกายวิภาควิทยาของพืชแตกต่างกันอย่างไร

    - สัณฐานวิทยาคือการศึกษาภายนอกรูปร่างและโครงสร้างภายนอกของพืช เช่น การมองผ่านตา ส่วน
    กายวิภาคคือการศึกษาภายในของพืชเช่นการผ่าเซลล์ของพืชแล้วบอกรายละเอียด

    3.กายวิภาคของลำต้นใบเลี้ยงเดี่ยวและใบเลี้ยงคู่แตกต่างกันอย่างไร

    - กายวิภาคพืชใบเลี้ยงเดี่ยวชั้นกับกายวิภาคพืชใบเลี้ยงคู่ แตกต่างกันตรงที่ การมัดท่อลำเลียง พืชใบเลี้ยงเดี่ยวท่อลำเลียงจะกระจายอยู่ทั่วไปไม่เป็นระเบียบ ส่วนพืชใบเลี้ยงคู่ นั้นท่อลำเลียงจะจัดตัวกันเป็นระเบียบ

    4.เนื้อเยื่อพืชแบ่งออกเป็นกี่ระบบอะไรบ้าง

    - แบ่งออกเป็น 3 ระบบ คือ
    4.1. เนื้อเยื่อพื้น(Ground tissue)
    4.2.เนื้อเยื่อบุผิว(Dermal tissue)
    4.3.เนื้อเยื่อลำเลียง(Vascular tissue)

    5.Dermal tissue ต่างจาก epidermis อย่างไร

    - dermal tissue ป้องกันเนื้อเยื่อพืชภายนอกแต่ epidermis เป็นเนื้อเยื่อที่อยู่ชั้นนอกสุด ทำหน้าที่ป้องกันอันตรายให้แก่เนื้อเยื่อภายในของลำต้น ส่วนใหญ่เซลล์เรียงตัวเพียงชั้นเดียว พืชบางชนิด epidermis มีการเปลี่ยนแปลงไปเป็นส่วนของ trichome / hair และ guard cell

    6.Ground tissue กับ cortex ต่างกันอย่างไร

    - Ground tissue ประกอบไปด้วยเนื้อเยื่อหลายชนิดมาอยู่รวมกันเรียกว่า Cortex

    ณัฐพงศ์ ชัยณรงค์ ม.5/3 เลขที่ 29

    BY +____ KERBEROS____+

    ตอบลบ
  34. 1.กายวิภาควิทยาของรากใบเลี้ยงเดี่ยวกับใบเลี้ยงคู่แตกต่างกันอย่างไร
    กายวิภาควิทยาของรากพืชใบเลี้ยงเดี่ยวจะมีแฉกของเซลล์ไซเลม 4-5 แฉกแต่รากของพืชใบเลี้ยงคู่จะมีแฉกของไซเลม 4-6 แฉก และในรากพืชใบเลี้ยงเดี่ยวจะมีเซลล์โฟลเอมแทรกระหว่างแฉกของเซลล์ไซเลม และในรากพืชใบเลี้ยงคู่มีวาสคิวลาร์แคมเบียม และเมื่อพืชมีอายุมากขึ้นวาสคิวลาร์แคมเบียมจะแบ่งตัวให้วาสคิวลาร์บันเดิล กายวิภาควิทยาของรากใบเลี้ยงเดี่ยวกับใบเลี้ยงคู่จึงแตกต่างกัน

    2.สัณฐานวิทยากับกายวิภาควิทยาของพืชแตกต่างกันอย่างไร
    สัณฐานวิทยาของพืชคือโครงสร้างภายนอกของพืชแต่กายวิภาควิทยาของพืชคือโครงสร้างภายในของพืช สัณฐานวิทยากับกายวิภาควิทยาของพืชจึงแตกต่างกัน

    3.กายวิภาคของลำต้นใบเลี้ยงเดี่ยวและใบเลี้ยงคู่แตกต่างกันอย่างไร
    ต่างกันที่มัดท่อลำเลียงคือลำต้นใบเลี้ยงคู่มักเรียงเป็นลักษณะวงแต่ลำต้นใบเลี้ยงเดี่ยวมัดท่อลำเลียงจะรวมกันเป็นกลุ่มๆ

    4.เนื้อเยื่อพืชแบ่งออกเป็นกี่ระบบอะไรบ้าง
    เนื้อเยื่อของพืชแบ่งออกเป็น 3 ระบบ คือ
    เนื้อเยื่อชั้นผิว เนื้อเยื่อท่อลำเลียง เนื้อเยื่อพื้น

    5.Dermal tissue ต่างจาก epidermis อย่างไร
    Dermal tissue คือเนื้อเยื่อผิวพบเฉพาะการเจริญเติบโตระยะแรก epidermis เป็นเซลล์ชั้นที่อยู่นอกสุดเป็นเซลล์เพียงชนิดเดียวและปกคลุมอยู่ทุกส่วนของพืชพบทั้งการเจริญเติบโตระยะแรกและระยะที่สอง

    6.Ground tissue กับ cortex ต่างกันอย่างไร
    Ground tissue คือเนื้อเยื่อพื้นแต่ cortex เป็นชั้นของเนื้อเยื่อที่อยู่ระหว่าง epidermis กับ เนื้อเยื่อลำเลียง

    นาย กวิน แก้วกำไร 5/3 เลขที่ 36

    ตอบลบ
  35. 1.กายวิภาควิทยาของรากพืชใบเลี้ยงเดี่ยวจะมีแฉกของเซลล์ไซเลม4-5แฉก แต่รากของพืชใบเลี้ยงคู่จะมีแฉกของไซเลม4-6แฉก และในรากพืชใบเลี้ยงเดี่ยวจะมีเซลล์โฟลเอมแทรกระหว่างแฉกเซลล์ไซเลมแต่ในรากพืชใบเลี้ยงคู่มีวาสคิวลาร์แคมเบียม

    2.สัณฐานวิทยาของพืชคือโครงสร้างภายนอกของพืชแต่
    กายวิภาควิทยาของพืชคือโครงสร้างภายในของพืช

    3.ลำต้นพืชใบเลี้ยงเดี่ยว
    .1 ข้อปล้องไม่ชัดเจน
    .2 Vascular bundleเรียงตัวเป็นระเบียบ
    .3 มีVacular cambium
    .4 มีsecondary growth
    .5 มีannual ring
    .6 xylem และ phloemทำงานได้อย่างไม่นาน
    ลำต้นพืชใบเลี้ยงคู่
    .1 มีข้อปล้องชัดเจน
    .2 Vascular bundleเรียงตัวกันไม่เป็นระเบียบ
    .3 ไม่มีvascular cambium
    .4 ไม่มีsecondary growth
    .5 ไม่มีannual ring
    .6 xylem และ phloem ทำงานได้นาน

    4. 3 ระบบ
    1.ระบบเนื้อเยื่อผิว(dermal system)
    2.ระบบเนื้อเยื่อพื้น(ground tissue)
    3.ระบบเนื้อเยื่อท่อลำเลียง(Vascular tissue)

    5.Dermal tissueป้องกันเนื้อเยื่อพืชภายนอกแต่epidermis เป็นเนื้อเยื่อที่อยู่ชั้นนอกสุด ทำหน้าที่ป้องกันอันตรายให้แก่เนื้อเยื่อภายในขอลำต้น

    6.Ground tissueนั้นเป็นเนื้อเยื่อพื้น แต่cortexนั้น เป็นชั้นของเนื้อเยื่อที่อยู่ระหว่างเนื้อเยื่อชั้นผิวกับเนื้อเยื่อลำเลียง

    ชลกร ลาภธนวัฒน์ ม.5/3 เลขที่16

    ตอบลบ
  36. ไรวะเนี่ย โพสเราถูกลบได้ไงอ่ะ งง??

    ตอบลบ
  37. สัณฐานวิทยากับกายวิภาควิทยาของพืชแตกต่างกันอย่างไร
    ตอบ สัณฐานวิทยาของพืชเป็นวิชาที่ว่าด้วยเรื่องลักษณะภายนอกของพืช เช่น ราก ลำต้น ใบ โดยเป็นส่วนที่ประสาทสัมผัสต่างๆของร่างกายสามารถจับต้องและสัมผ้สได้ ส่วนกายวิภาควิทยานั้นเป็นวิชาที่ว่าด้วยการศึกษาส่วนประกอบภายในของพืช โดยสิ่งที่จะศึกษาเป็นพวกลักษณะโครงสร้าง โดยจะศึกษาโดยการใช้เทคโนโลยีทางวิทยาศาสตร์มาช่วย เช่นกล้องจุลทรรศน์ โดยจะนำพืชที่สนใจมาทำการผ่่า บริเวณ ราก ลำต้น ใบ และส่องกล้องดู โครงสร้างต่างๆภายใน เช่น Cork Cambium และ Cortex เป็นต้น

    นาย ธนธัช รัตนจรัสโรจน์ ม.5/2 เลขที่ 1

    ตอบลบ
  38. ความคิดเห็นนี้ถูกผู้เขียนลบ

    ตอบลบ
  39. 1.กายวิภาควิทยาของรากใบเลี้ยงเดี่ยวกับใบเลี้ยงคู่แตกต่างกันอย่างไร
    - วาสคูลาร์บันเดิล(vascular bundle) ในรากจะมีการเรียงตัวกันมีลักษณะเป็นแฉก โดยรากพืชใบเลี้ยงคู่นั้นจะพบ 4-6 แฉก และมีชื่อเรียกเฉพาะต่างกันตามจำนวนแฉกเช่น ถ้ามี 4 แฉก ก็จะเรียกว่า tetra arch ส่วนในพืชใบเลี้ยงเดี่ยวนั้นจะมีจำนวนแฉกมากมายเรียกว่า polyarch
    - พิธ(pith) ในรากพืชใบเลี้ยงเดี่ยวตรงกลางจะเป็นเนื่อยพาเรนไคมา(parenchyma) แต่ถ้าเป็นรากใบเลี้ยงคู่ส่วนของพิธจะเป็น ไซเรม(xylem)

    2.สัณฐานวิทยากับกายวิภาควิทยาของพืชแตกต่างกันอย่างไร
    - สัณฐานวิทยาเป็นการศึกษารูปร่างลักษณะภายนอกของพืช ส่วนกายวิภาควิทยาจะเป็นการศึกษาภายในของพืช

    3.กายวิภาคของลำต้นใบเลี้ยงเดี่ยวและใบเลี้ยงคู่แตกต่างกันอย่างไร
    - แตกต่างกันที่การเรียงตัวของ vascular system
    การเรียงตัวของ vascular system ของพืชใบเลียงคู่
    vascular bundle เป็นแบบ open bundle มี vascular cambium เกิดขึ้นภายหลังการเจริญเติบโต ของลำต้นในระยะ primary growth มี vascular bundle เป็นกลุ่มเรียงตัวกันเป็นระเบียบ ( ordered )ในลำต้นที่เจริญมาก กลุ่มท่อลำเรียงจะมีเนื้อเยื่อพวก sclerenchyma ล้อมรอบ ผนังหนาเห็นชัดเจน เรียก bundle sheath

    การเรียงตัวของ vascular system ของพืชใบเลี้ยงเดี่ยว
    vascular bundle เป็นแบบ close bundle ไม่มีเซลล์ vascular cambium เกิดขึ้น vascular bundle เรียงตัวกระจัดกระจายไม่เป็นระเบียบ

    4.เนื้อเยื่อพืชแบ่งออกเป็นกี่ระบบ อะไรบ้าง
    - แบ่งออกเป็น 3 ระบบ คือ
    4.1. เนื้อเยื่อพื้น(Ground tissue)
    4.2.เนื้อเยื่อบุผิว(Dermal tissue)
    4.3.เนื้อเยื่อลำเลียง(Vascular tissue)

    5.Dermal tissue ต่างจาก epidermis อย่างไร
    - epidermis เป็นส่วนย่อยส่วนหนึ่งของ Dermal tissue

    6.Ground tissue กับ cortex ต่างกันอย่างไร
    -เนื้อเยื่อพื้น (ground tissue) เป็นเนื้อเยื่อที่พัฒนาเปลี่ยนแปลงไปเป็นเนื้อเยื่ออื่นๆ น้อยที่สุด และเป็นเนื้อเยื่อที่มีต้นกำเนิดมาจาก Ground meristem โดยประกอบไปด้วยเนื้อเยื่อหลายชนิดมาอยู่รวมกันเรียกว่า Cortex
    ซึ่งจะอธิบายได้ว่า cortex เป็นส่วนย่อยส่วนหนึ่งของ Ground tissue


    เจริญชัย วิริยะวิภาต ม.5/5 เลขที่ 9

    ตอบลบ


Uploaded with ImageShack.us
Uploaded with ImageShack.us