Uploaded with ImageShack.us

วันอาทิตย์, ธันวาคม 19, 2553

คำถามครั้งที่ 2 มัธยมศึกษาชั้นปีที่ 5/5


12 ความคิดเห็น:

  1. ความคิดเห็นนี้ถูกผู้เขียนลบ

    ตอบลบ
  2. ไม่ระบุชื่อ20 ธันวาคม 2553 เวลา 06:39

    ความคิดเห็นนี้ถูกผู้เขียนลบ

    ตอบลบ
  3. ถ้าจะให้เรียนบนเว็บให้เข้าใจก็ควรมีเอกสารให้เพ่อเรียนกับ คลิปในคอมพิวเตอร์

    การตรึงคาร์บอนไดออกไซด์

    เรียกว่า calvin cycle
    เป็นปฏิกิริยาที่นำพลังงานATP และ NADPH ที่ได้จากปฏิกิริยาที่ต้องใช้แสง มาใช้ในการสร้างโมเลกุลของสารอินทรีย์จากสารอนินทรีย์
    นาย กฤต หวังรัชนนท์ ม.5/5 6.

    ตอบลบ
  4. ถ้าใช่อินเตอร์เน็ตเอ็กโปเล่อ ควรมีอุปกรณ์ ที่จะเป็น และ สดวกพกพาไปได้หลายๆที่ เพื่อจะได้ดูได้เมื่อต้องการ อุปกรณ์ก็อย่างเช่น โน๊ตบุ๊ก ipad iphone และควรมีแหล่งให้ศึกษาเพื่อที่จะได้เข้าไปค้นคว้าข้อมูลต่างๆ

    การตรึงคาร์บอนได้ออกไซด์
    มีทั้งหมด3ขั้นตอน
    1.การตรึงคาร์บอนไดออกไซด์ไปเป็น 3-ฟอสโฟกลีเซอเรต โดยใช้ ไรบูโลส – 6 –ฟอสเฟต ซึ่งมีคาร์บอน 5 ตัว รวมตัวกับคาร์บอนไดออกไซด์ ได้เป็น 3-ฟอสโฟกลีเซอเรต 2 โมเลกุล
    2.การเปลี่ยน 3-ฟอสโฟกลีเซอเรต ไปเป็น กลีเซอรอลดีไฮด์ – 3- ฟอสเฟต โดยใช้พลังงาน ATP และ NADPH + H+ กลีเซอรอลดีไฮด์ – 3- ฟอสเฟต ที่ได้จะนำไปสร้างเป็นกลูโคส
    3.กลีเซอรอลดีไฮด์ – 3- ฟอสเฟต บาส่วนถูกนำไปจัดตัวใหม่เป็น ไรบูโลส – 6 –ฟอสเฟต เพื่อนำไปตรึงคาร์บอนไดออกไซด์รอบใหม่ ทั้งนี้ กลีเซอรอลดีไฮด์ – 3- ฟอสเฟต 5 ตัว จะจัดตัวใหม่ได้เป็น ไรบูโลส – 6 –ฟอสเฟต 3 ตัว

    ณัชพล เรืองสุรเดช ม.5/5 เลขที่ 30

    ตอบลบ
  5. ไม่ระบุชื่อ22 ธันวาคม 2553 เวลา 05:25

    ความคิดเห็นนี้ถูกผู้เขียนลบ

    ตอบลบ
  6. 1.ต้องตั้งใจเรียนและมีสมาธิกับการเรียนให้มากๆการเรียนเรื่องการสังเคราะห์แสงของพืช
    จะมีวัฐจักต่างๆที่เป็นรูปภาพเยอะมากควรจะโหลดโปรแกรมpower pointที่มีรูปภาพเกี่ยวกับ
    การสังเคราะห์แสงของพืชมาดูประกอบกับการเรียนด้วยเพื่อความเข้าใจพร้อมกับหัวข้อที่ครูอธิบาย
    ตอนเวลาที่ครูอธิบายจะเร็วมากหากตามไม่ทันให้หยุดแล้วย้อนกลับไปดูใหม่จนเข้าใจแล้วค่อยผ่าน
    อย่าดูแบบให้มันหมดๆไปซะทีควรทำความเข้าใจก่อนจะผ่าน เมื่อเข้าใจแล้ว1รอบก็เปิดดูอีกรอบ
    เพื่อจำให้ได้และค่อยหาหนังสือมาอ่านเสริมทับความรู้เดิมให้มากขึ้นอีกก็จะเข้าใจเนื้อหาและตอบได้

    2.ปฏิกิริยาการตรึงคาร์บอนไดออกไซด์...
    เป็นปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นโดยไม่ต้องใช้แสงเป็นกระบวนการต่อเนื่องจากปฏิกิริยาที่ใช้แสงในการเปลี่ยนCO2
    เราอาจเรียกกระบวนการนี้ว่าคัลวินไซเคิลเพราะเป็นชื่อของผู้ค้นพบ
    วัฏจักรของคัลวิน มีปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นใหญ่ๆ3 ขั้นตอน ดังนี้
    ปฏิกิริยาขั้นที่1.คาร์บอกซิเลชัน
    เป็นปฏิกิริยาตรึงคาร์บอนไดออกไซด์คาร์บอนไดออกไซด์จะเข้าสู่วัฏจักรคัลวินโดยทำปฏิกิริยากับRuBPโดยมีเอนไซม์รูบิสโก้(RUBISCO)เป็นคะตะลิสต์เมื่อRuBPซึ่งเป็นสารที่มีคาร์บอน5อะตอมเข้ารวมกับคาร์บอนไดออกไซด์ได้สารประกอบใหม่ที่มีคาร์บอน6อะตอมแต่เป็นสารที่ไม่คงตัวและจะเปลี่ยนเป็นสารประกอบฟอสโฟกลีเซอเรต(PGA)ซึ่งมีคาร์บอน3อะตอมจำนวน2โมเลกุลต่อการตรึงคาร์บอนไดออกไซด์1 โมเลกุลซึ่งถือเป็นสารประกอบคาร์บอนตัวแรกที่คงตัวในวัฏจักรคัลวินไซเคิล
    ปฏิกิริยาขั้นที่2.รีดักชั่น
    ในขั้นตอนนี้แต่ละโมเลกุลของPGAจะรับหมู่ฟอสเฟตจากATPกลายเป็น1,3บิสฟอสเฟตกลีเซอเรต
    (1,3 - BISPHEPHOGLYCERATE)ซึ่งรักอิเล็กตรอนจากNADPHและถูกเปลี่ยนต่อเป็น
    กลีเซอรัลดีไฮด์ 3 – ฟอสเฟต(GLYCERAL DEHYDE3-PHOSPHATE)เรียกย่อๆว่า
    G3PหรือPGALซึ่งเป็นน้ำตาลที่มีคาร์บอน3อะตอม
    ปฏิกิริยาขั้นที่3.รีเจเนอเนเรชัน
    เป็นขั้นตอนที่สร้างRuBPขึ้นมาใหม่เพื่อกลับไปรับคาร์บอนไดออกไซด์อีกครั้งหนึ่งในการสร้างRuBP
    ซึ่งมีคาร์บอน5อะตอมต้องอาศัยPGALซึ่งเป็นสารที่มีคาร์บอน3อะตอม จึงจะเปลี่ยนไปเป็น RUBP
    และขั้นตอนนี้ต้องอาศัยพลังงานจากATPจากปฏิกิริยาแสง ส่วน PGALบางโมเลกุลจะถูกนำไปสร้างกลูโคส
    และสารประกอบอินทรีย์ต่าง ๆ
    แหล่งที่มา : หนังสือชีววิทยา ม.5 (ของห้องสมุด) หน้าปกสีเทา แผ่นกระดาษข้างในเป็นสีน้ำตาล

    ชื่อ นาย พีรเดช กตัญญูวงศ์เจริญ ม.5/5 เลขที่ 21

    ตอบลบ
  7. ปฏิกิริยาที่ต้องใช้แสง เป็นกระบวนการที่เกิดขึ้นบริเวณไทลาคอยด์ เป็นการที่รงควัตถุรับพลังงานแสง แล้วนำพลังงานนั้นมาใช้ในการสร้างสารที่มีพลังงานสูง ซึ่งได้แก่ ATP และ NADPH เพื่อที่จะได้นำพลังงานจากโมเลกุลเหล่านี้ไปใช้ในการสร้างสารอินทรีย์ในกระบวนการตรึงคาร์บอนไดออกไซด์ต่อไป ซึ่งเกิดขึ้นบริเวณ สโตรมาในคลอโรพลาสต์

    สาิริน เครือศรีสวัสดิ์ ม.5/5 เลขที่ 41

    ตอบลบ
  8. 1.ควรมีสมาธิกับการเรียน แล้วพอถึงบ้านกลับมาทบทวนสิ่งที่ครูสอน พอใกล้สอบกลับมาทบทวนอีกรอบ แค่นี้ก็เข้าใจและ
    2.ปฏิกิริยาการตรึงคาร์บอนไดออกไซด์...
    เป็นปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นโดยไม่ต้องใช้แสงเป็นกระบวนการต่อเนื่องจากปฏิกิริยาที่ใช้แสงในการเปลี่ยนCO2
    เราอาจเรียกกระบวนการนี้ว่าคัลวินไซเคิลเพราะเป็นชื่อของผู้ค้นพบ
    วัฏจักรของคัลวิน มีปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นใหญ่ๆ3 ขั้นตอน ดังนี้
    ปฏิกิริยาขั้นที่1.คาร์บอกซิเลชัน
    เป็นปฏิกิริยาตรึงคาร์บอนไดออกไซด์คาร์บอนไดออกไซด์จะเข้าสู่วัฏจักรคัลวินโดยทำปฏิกิริยากับRuBPโดยมีเอนไซม์รูบิสโก้(RUBISCO)เป็นคะตะลิสต์เมื่อRuBPซึ่งเป็นสารที่มีคาร์บอน5อะตอมเข้ารวมกับคาร์บอนไดออกไซด์ได้สารประกอบใหม่ที่มีคาร์บอน6อะตอมแต่เป็นสารที่ไม่คงตัวและจะเปลี่ยนเป็นสารประกอบฟอสโฟกลีเซอเรต(PGA)ซึ่งมีคาร์บอน3อะตอมจำนวน2โมเลกุลต่อการตรึงคาร์บอนไดออกไซด์1 โมเลกุลซึ่งถือเป็นสารประกอบคาร์บอนตัวแรกที่คงตัวในวัฏจักรคัลวินไซเคิล
    ปฏิกิริยาขั้นที่2.รีดักชั่น
    ในขั้นตอนนี้แต่ละโมเลกุลของPGAจะรับหมู่ฟอสเฟตจากATPกลายเป็น1,3บิสฟอสเฟตกลีเซอเรต
    (1,3 - BISPHEPHOGLYCERATE)ซึ่งรักอิเล็กตรอนจากNADPHและถูกเปลี่ยนต่อเป็น
    กลีเซอรัลดีไฮด์ 3 – ฟอสเฟต(GLYCERAL DEHYDE3-PHOSPHATE)เรียกย่อๆว่า
    G3PหรือPGALซึ่งเป็นน้ำตาลที่มีคาร์บอน3อะตอม
    ปฏิกิริยาขั้นที่3.รีเจเนอเนเรชัน
    เป็นขั้นตอนที่สร้างRuBPขึ้นมาใหม่เพื่อกลับไปรับคาร์บอนไดออกไซด์อีกครั้งหนึ่งในการสร้างRuBP
    ซึ่งมีคาร์บอน5อะตอมต้องอาศัยPGALซึ่งเป็นสารที่มีคาร์บอน3อะตอม จึงจะเปลี่ยนไปเป็น RUBP
    และขั้นตอนนี้ต้องอาศัยพลังงานจากATPจากปฏิกิริยาแสง ส่วน PGALบางโมเลกุลจะถูกนำไปสร้างกลูโคส
    และสารประกอบอินทรีย์ต่าง ๆ
    แหล่งที่มา : หนังสือชีววิทยา ม.5 (ของห้องสมุด) หน้าปกสีเทา แผ่นกระดาษข้างในเป็นสีน้ำตาล

    นาย จีรวัฒน์ ลาภอุดมทรัพย์ 5/5 เลขที่ 3

    ตอบลบ
  9. 1.ควรรู้ภาษาอังกิดด้วยเพื่อจะได้แปลศัพได้และเข้าใจได้อย่างรวดเร็วมากขึ้น

    2.ปฏิกิริยาการตรึงคาร์บอนไดออกไซด์...
    เป็นปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นโดยไม่ต้องใช้แสงเป็นกระบวนการต่อเนื่องจากปฏิกิริยาที่ใช้แสงในการเปลี่ยนCO2
    เราอาจเรียกกระบวนการนี้ว่าคัลวินไซเคิลเพราะเป็นชื่อของผู้ค้นพบ
    วัฏจักรของคัลวิน มีปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นใหญ่ๆ3 ขั้นตอน ดังนี้
    ปฏิกิริยาขั้นที่1.คาร์บอกซิเลชัน
    เป็นปฏิกิริยาตรึงคาร์บอนไดออกไซด์คาร์บอนไดออกไซด์จะเข้าสู่วัฏจักรคัลวินโดยทำปฏิกิริยากับRuBPโดยมีเอนไซม์รูบิสโก้(RUBISCO)เป็นคะตะลิสต์เมื่อRuBPซึ่งเป็นสารที่มีคาร์บอน5อะตอมเข้ารวมกับคาร์บอนไดออกไซด์ได้สารประกอบใหม่ที่มีคาร์บอน6อะตอมแต่เป็นสารที่ไม่คงตัวและจะเปลี่ยนเป็นสารประกอบฟอสโฟกลีเซอเรต(PGA)ซึ่งมีคาร์บอน3อะตอมจำนวน2โมเลกุลต่อการตรึงคาร์บอนไดออกไซด์1 โมเลกุลซึ่งถือเป็นสารประกอบคาร์บอนตัวแรกที่คงตัวในวัฏจักรคัลวินไซเคิล
    ปฏิกิริยาขั้นที่2.รีดักชั่น
    ในขั้นตอนนี้แต่ละโมเลกุลของPGAจะรับหมู่ฟอสเฟตจากATPกลายเป็น1,3บิสฟอสเฟตกลีเซอเรต
    (1,3 - BISPHEPHOGLYCERATE)ซึ่งรักอิเล็กตรอนจากNADPHและถูกเปลี่ยนต่อเป็น
    กลีเซอรัลดีไฮด์ 3 – ฟอสเฟต(GLYCERAL DEHYDE3-PHOSPHATE)เรียกย่อๆว่า
    G3PหรือPGALซึ่งเป็นน้ำตาลที่มีคาร์บอน3อะตอม
    ปฏิกิริยาขั้นที่3.รีเจเนอเนเรชัน
    เป็นขั้นตอนที่สร้างRuBPขึ้นมาใหม่เพื่อกลับไปรับคาร์บอนไดออกไซด์อีกครั้งหนึ่งในการสร้างRuBP
    ซึ่งมีคาร์บอน5อะตอมต้องอาศัยPGALซึ่งเป็นสารที่มีคาร์บอน3อะตอม จึงจะเปลี่ยนไปเป็น RUBP
    และขั้นตอนนี้ต้องอาศัยพลังงานจากATPจากปฏิกิริยาแสง ส่วน PGALบางโมเลกุลจะถูกนำไปสร้างกลูโคส
    และสารประกอบอินทรีย์ต่าง ๆ
    แหล่งที่มา : หนังสือชีววิทยา ม.5 (ของห้องสมุด) หน้าปกสีเทา แผ่นกระดาษข้างในเป็นสีน้ำตาล

    ตอบลบ
  10. อันข้างบนของ
    นาย เจริญชัย ม5/5 เลขที่ 9

    ตอบลบ
  11. ความคิดเห็นนี้ถูกผู้เขียนลบ

    ตอบลบ
  12. 1).หาทำความเข้าใจแลตั้งใจเรียนก็รู้เรื่องได้จริงๆ และก็หมั่นทบทวนหนังสือ
    2)การตรึงคาร์บอนไดออกไซด์
    การตรึงคาร์บอนไดออกไซด์นี้เป็นกระบวนการที่พืชนำพลังงานเคมีที่ได้จากปฏิกิริยาแสงในรูป ATP และADPH มาใช้ในการสร้างสารอินทรีย์ คาร์บอนไดออกไซด์จะถูกรีดิวส์เป็นน้ำตาลไตรโอสฟอสเฟตในวัฏจักรคัลวิน วัฏจักรคัลวินเป็นปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นในสโตรมาของคลอโรพลาสต์ ประกอบ 3 ขั้นตอนใหญ่ คือ คาร์บอกซิเลชัน รีดักชันและ รีเจเนอเรชัน

    แหล่งที่มา: หนังสือPlant Biology
    นาย อุดมวิทย์ สุขทิศ ม.5/5 เลขที่ 45

    ตอบลบ


Uploaded with ImageShack.us
Uploaded with ImageShack.us